TY - JOUR AU - Nata, Adulkrit AU - Vilayhong, Vanlakhone AU - Khuntikeo, Narong AU - Pugkhem, Ake AU - Srisuk, Tharathip AU - Luvira, Vor AU - Titapun, Attapol AU - Jarearnrat, Apiwat AU - Tipwaratorn, Theerawee AU - Thanasukarn, Vasin PY - 2021/12/29 Y2 - 2024/03/28 TI - Bile Duct Injury Incidence in Patients Undergoing Laparoscopic Cholecystectomy in Srinagarind Hospital, Khon Kaen University, Thailand JF - Srinagarind Medical Journal JA - SRIMEDJ VL - 36 IS - 6 SE - Original Articles DO - UR - https://li01.tci-thaijo.org/index.php/SRIMEDJ/article/view/253378 SP - 649-656 AB - <p><strong><u>หลักการและวัตถุประสงค์</u></strong>: การเกิดการบาดเจ็บต่อท่อน้ำดี เป็นภาวะแทรกซ้อนที่ก่อให้เกิดความเสียหาย และส่งผลกระทบต่อผลการรักษาอย่างมาก อุบัติการณ์ ของการเกิดภาวะแทรกซ้อนนี้ค่อนข้างแตกต่างกันไปในแต่ละงานวิจัย จุดประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการ ศึกษาเพื่อหาอุบัติการณ์และปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดท่อน้ำดีบาดเจ็บหลังการผ่าตัดถุงน้ำดีด้วยการส่องกล้อง</p><p><strong><u>วิธีการศึกษา</u></strong>: เป็นการศึกษาย้อนหลังเชิงพรรณนา ที่จัดทำขึ้นในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดส่องกล้องถุงน้ำดีที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ตั้งแต่ เดือน มกราคม พ.ศ. 2552 จนถึง เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2561โดยศึกษาอุบัติการณ์การบาดเจ็บต่อท่อน้ำดีจากการผ่าตัดดังกล่าว และ ลักษณะของผู้ป่วยที่เกิดการบาดเจ็บนี้</p><p><strong><u>ผลการศึกษา</u></strong>: พบว่าในผู้ป่วย 771 ราย ที่ได้รับการผ่าตัดถุงน้ำดีด้วยวิธีการส่องกล้อง มีผู้ป่วย 11 ราย ที่มีท่อน้ำดีบาดเจ็บ คิดเป็นอุบัติการณ์ร้อยละ 1.43 (95%CI: 0.71 – 2.54) ซึ่งล้วนเป็นผู้ป่วยที่ไม่เคยมีภาวะถุงน้ำดีอักเสบ และไม่มีความผันแปรทางกายวิภาคของท่อทางเดินน้ำดี นอกจากนี้ ยังเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจทางรังสีวิทยาเพียง อัลตราซาวน์ อย่างเดียว โดยการเกิดท่อน้ำดีบาดเจ็บ สัมพันธ์กับการเปลี่ยนวิธีการผ่าตัด จากการส่องกล้องเป็นแบบผ่าเปิด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (OR 9.16 (1.85 - 45.46), p = 0.007<br>ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บท่อน้ำดีต้องพักรักษาในโรงพยาบาลนานขึ้น จากปกติ 4.39 ± 2.73 วัน เป็น 18.82 ± 15.48 วันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p &lt;0.001)</p><p><strong><u>สรุป</u>: </strong>จากการศึกษานี้ พบว่ามีผู้ป่วยร้อยละ 1.43 บาดเจ็บท่อน้ำดี ภายหลังการผ่าตัดถุงน้ำดีด้วยวิธีการส่องกล้อง และสัมพันธ์กับการต้องเปลี่ยนวิธีผ่าตัดเป็นแบบเปิด</p><p><strong>คำสำคัญ:</strong> การผ่าตัดส่องกล้อง; การตัดถุงน้ำดี; นิ่วในถุงน้ำดี; การบาดเจ็บของท่อน้ำดี</p><p><strong><u>Background and Objective</u></strong><strong>: </strong>Bile duct injury is a devastating complication following cholecystectomy with significant impact on treatment outcome. The incidence of bile duct injury following laparoscopic cholecystectomy&nbsp; varies &nbsp;between studies. This study aimed to establish&nbsp; the incidence of bile duct injury following laparoscopic cholecystectomy, and factors related to this complication.</p><p><strong><u>Methods</u></strong><strong>: </strong>This was a retrospective descriptive study conducted in Srinagarind &nbsp;Hospital, Khon Kaen University, using records of patients who underwent &nbsp;&nbsp;laparoscopic cholecystectomy between &nbsp;January 2552 and &nbsp;December 2561.&nbsp;</p><p><strong><u>Result</u></strong><strong>: </strong>In all, 771 patients underwent laparoscopic cholecystectomy. &nbsp;Bile duct injuries were found in 11 patients, giving a &nbsp;cumulative incidence of 1.43% (95%CI: 0.71 – 2.54). &nbsp;All victims had &nbsp;preoperative diagnosis &nbsp;only by ultrasound, had no previous &nbsp;Cholecystitis diagnosis, &nbsp;and had no &nbsp;anatomical variation. Conversion to open surgery was the only variable significantly related to &nbsp;bile duct injury (OR 9.16 (1.85 - 45.46), p = 0.007).&nbsp; Bile duct injury victims needed significantly longer hospitalization than non-victims, &nbsp;18.82 ± 15.48 days compared to &nbsp;4.39 ± 2.73 days, (p &lt;0.001).</p><p><strong><u>Conclusion</u></strong><strong>: </strong>This study showed incidence of bile duct injury at 1.43% of patients and related to conversion to open surgery during procedure.</p><p>&nbsp;</p> ER -