@article{พลพวก_2021, title={การพัฒนากระบวนการผลิตอิฐมอญโดยใช้เศษแก้วเป็นสารเติมแต่ง}, volume={1}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/STJS/article/view/249043}, abstractNote={<div> <p class="Default"><span lang="TH">การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการใช้เศษแก้วเป็นสารเติมแต่งต่อสมบัติทางกายภาพและสมบัติเชิงกลของอิฐดินเผา เศษแก้วถูกผสม</span><span lang="TH">ที่อัตราส่วนผสม</span><span lang="EN-US"> 0 5 10 15 </span><span lang="TH">และ</span><span lang="EN-US"> 20 </span><span lang="TH">เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก แล้วเผาที่อุณหภูมิ </span><span lang="EN-US">900 1</span><span lang="TH">,</span><span lang="EN-US">000 </span><span lang="TH">และ </span><span lang="EN-US">1</span><span lang="TH">,</span><span lang="EN-US">100 </span><span lang="TH">องศาเซลเซียส เป็นเวลา </span><span lang="EN-US">1 </span><span lang="TH">ชั่วโมง </span><span lang="TH">ผลจากการศึกษาพบว่า เมื่ออุณหภูมิในการเผานานขึ้น มีผลทำให้การหดตัว</span><span lang="TH">ของชิ้นงานเพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับความหนาแน่นที่สูงขึ้น ในขณะที่ปริมาณรูพรุนลดลงผลการศึกษาดังกล่าว สอดคล้องกับค่าความแข็งแรงของชิ้นงานที่เพิ่มสูงขึ้น เมื่ออุณหภูมิในการเผาเพิ่มขึ้น ในส่วนของการศึกษาปริมาณการเติมเศษแก้ว พบว่า การเติมเศษแก้วในปริมาณที่มากขึ้นทำให้เกิดการเชื่อมประสานของแก้วหลอมระหว่างอนุภาคของดินมากขึ้น ชิ้นงานจึงมีแนวโน้มของค่าความหนาแน่นสูงขึ้น ในขณะที่รูพรุนลดลง ด้วยเหตุนี้ความแข็งแรงของชิ้นงานจึงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นกับปริมาณเศษแก้วที่มากขึ้น จากผลการศึกษายืนยันได้ว่า      เศษแก้วสามารถนำมาใช้เป็นตัวเติมในกระบวนการผลิตอิฐดินเผาได้</span></p> </div>}, number={2}, journal={วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ}, author={พลพวก นนทพงษ์}, year={2021}, month={พ.ย.}, pages={1–11} }