@article{อายะวรรณา_กิ่งน้อย_วันเพ็ญ_ไชยพุทธ_2021, title={ความสามารถทางโฟโตคาตาลิติกของเคลือบแก้ว-เซรามิกสำหรับกระเบื้องเซรามิก แบบเผาเร็ว}, volume={1}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/STJS/article/view/250980}, abstractNote={<p><span lang="TH">งานวิจัยนี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลการเติมสารเร่งปฏิกิริยา </span><span lang="EN-GB">TiO<sub>2</sub> </span><span lang="TH">และสารผสม</span><span lang="EN-GB"> TiO<sub>2 </sub>/Al<sub>2</sub>O<sub>3 </sub></span><span lang="TH">ต่อความสามารถทางโฟโตคาตาลิติกของเคลือบแก้ว</span><span lang="EN-GB">-</span><span lang="TH">เซรามิก บนกระเบื้องเซรามิกแบบเผาเร็ว เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์กระเบื้องเคลือบแก้ว</span><span lang="EN-GB">-</span><span lang="TH">เซรามิกที่สามารถทำความสะอาดผิวตัวเองได้ โดยไม่จำเป็นต้องมีการเคลือบทับชั้น </span><span lang="EN-GB">TiO<sub>2</sub> </span><span lang="TH">ที่ผิวนอกของกระเบื้องเคลือบเซรามิกอีกครั้ง เพื่อลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายด้านวัตถุดิบและพลังงาน</span><span lang="TH">ในการผลิตกระเบื้องเคลือบ แต่สามารถเพิ่มประโยชน์ในการใช้งานรวมทั้งเพิ่มความแข็งแรงทนทานของกระเบื้อง โดยศึกษาผลของปริมาณของสารเร่งปฏิกิริยา </span><span lang="EN-GB">TiO<sub>2</sub> </span><span lang="TH">และสารผสม </span><span lang="EN-GB">TiO<sub>2 </sub>/Al<sub>2</sub>O<sub>3  </sub></span><span lang="TH">ตลอดจนอุณหภูมิและอัตราในการเผาที่มีผลต่อความสามารถทางโฟโตคาตาลิติกของเคลือบแก้ว</span><span lang="EN-GB">-</span><span lang="TH">เซรามิก ที่ใช้ฟริตแก้วเป็นวัตถุดิบ ผลการศึกษาพบว่า การเติม</span><span lang="TH">สารเร่งปฏิกิริยา </span><span lang="EN-GB">TiO<sub>2</sub> </span><span lang="TH">เพียงอย่างเดียวโดยไม่มีการเติม </span><span lang="EN-GB">Al<sub>2</sub>O<sub>3 </sub></span><span lang="TH">ในเคลือบฟริต</span><span lang="TH"> และเคลือบแก้ว</span><span lang="EN-GB">-</span><span lang="TH">เซรามิก ส่งผลให้ </span><span lang="EN-GB">TiO<sub>2 </sub></span><span lang="TH">เปลี่ยนโครงสร้างผลึกจาก </span><span lang="EN-GB">Anatase </span><span lang="TH">ไปเป็น </span><span lang="EN-GB">Rutile </span><span lang="TH">ทั้งหมดหลังจากเผาเคลือบที่อุณหภูมิ </span><span lang="EN-GB">1200ºC </span><span lang="TH">ซึ่งมีสมบัติโฟโตคาตาลิติกต่ำมาก ส่วนการเติมสารผสม </span><span lang="EN-GB">TiO<sub>2 </sub>/Al<sub>2</sub>O<sub>3  </sub></span><span lang="TH">ในสัดส่วน </span><span lang="EN-GB">52/48 </span><span lang="TH">จนถึง </span><span lang="EN-GB">48/52 </span><span lang="TH">โดยน้ำหนัก ในเคลือบฟริต ไม่พบเฟสเดี่ยวของ </span><span lang="EN-GB">Rutile TiO<sub>2</sub> </span><span lang="TH">แยกออกมา แต่ </span><span lang="EN-GB">TiO<sub>2 </sub></span><span lang="TH">จะรวมตัวกับ </span><span lang="EN-GB">BaO </span><span lang="TH">ในฟริตเกิดสารประกอบ </span><span lang="EN-GB">Barium Titanium Oxide (BaTiO<sub>x</sub>) </span><span lang="TH">ซึ่งเป็นเฟสที่มีความสามารถด้านโฟโตคาตาลิติกได้ดีกว่าเฟส </span><span lang="EN-GB">Rutile TiO<sub>2</sub> </span><span lang="TH">เคลือบฟริตผสม </span><span lang="EN-GB">TiO<sub>2 </sub>/Al<sub>2</sub>O<sub>3  </sub></span><span lang="TH">เผาเคลือบที่อุณหภูมิ </span><span lang="EN-GB">1200ºC </span><span lang="TH">พบปริมาณการสลายเมทิลีนบลู กว่า </span><span lang="EN-GB">44% </span><span lang="TH">จากการทดสอบต่อเนื่อง </span><span lang="EN-GB">60 </span><span lang="TH">นาที</span></p>}, number={1}, journal={วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ}, author={อายะวรรณา จิรัชญา and กิ่งน้อย น้ำทิพย์ and วันเพ็ญ ธัญญาพร and ไชยพุทธ ศลิษา}, year={2021}, month={พ.ค.}, pages={19–28} }