วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ https://li01.tci-thaijo.org/index.php/STJS <p>วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (Science and Technology Journal of Sisaket Rajabhat University) เป็นวารสารทางวิชาการของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา นักวิจัย และอาจารย์ ในด้านการศึกษาและวิจัย<strong> บทความทุกบทความจะต้องผ่านการพิจารณาโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 3 ท่านที่มาจากหลากหลายสถาบัน</strong> การดำเนินการจัดทำวารสารดังกล่าว กำหนดเผยแพร่ปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน) และ ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม) โดยตีพิมพ์เผยแพร่บทความในรูปแบบตีพิมพ์ (Print) เลข ISSN <em><strong>2730-3977</strong></em> ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2564 และเผยแพร่บทความในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) เลข E-ISSN <span style="vertical-align: inherit;"><strong><em> 2773-9309 </em></strong></span> ซึ่งวารสารดำเนินการเผยแพร่บทความในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) เป็นหลักตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565 </p> <div class="page" title="Page 2"> <div class="layoutArea"> <div class="column"> </div> </div> </div> <p> </p> คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ th-TH วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 2730-3977 <p><em><span lang="TH">เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ</span></em></p> <p><em><span lang="TH">บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ก่อนเท่านั้น</span></em></p> <p><br><br></p> ศักยภาพและความท้าทายในการประยุกต์ใช้พลังงานทดแทนในประเทศไทย https://li01.tci-thaijo.org/index.php/STJS/article/view/265539 <p>บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางในการพัฒนาและการใช้พลังงานทดแทนในประเทศไทย เพื่อช่วยลดการพึ่งพาพลังงานจากฟอสซิลและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและนำไปสู่ภัยพิบัติทางธรรมชาติ การศึกษาในบทความนี้มุ่งเน้นไปที่พลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูง เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานชีวมวล รวมถึงการใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ในการเก็บพลังงาน โดยการใช้พลังงานทดแทนจะช่วยเสริมสร้างความมั่นคงทางพลังงานและสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ ๆ อย่างไรก็ตามการใช้พลังงานทดแทนในประเทศไทยยังคงเผชิญกับความท้าทายด้านต้นทุนที่สูง ข้อจำกัดทางเทคนิค และความหลากหลายของสภาพอากาศในแต่ละพื้นที่ การสนับสนุนจากภาครัฐ การบูรณาการพลังงานหลายรูปแบบ และการเพิ่มการรับรู้ในชุมชนเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายในการใช้พลังงานทดแทนอย่างยั่งยืนในอนาคต<span class="Apple-converted-space"> </span></p> หอมหวน ตาสาโรจน์ ธานินทร์ รัชโพธิ์ สมสุข ไตรศุภกิตติ Copyright (c) 2025 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2025-03-02 2025-03-02 5 1 1 11