@article{เล็กรุ่งเรืองกิจ_ธัญภัทรานนท์_2020, title={การนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเถ้าไม้ยางพารากลับมาใช้เป็นส่วนผสมอิฐบล็อกประสาน}, volume={26}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TSAEJ/article/view/226362}, abstractNote={<p class="AbstractThai"><span lang="TH">โครงงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการผลิตอิฐบล็อกประสานโดยการเพิ่มสัดส่วนของการแทนที่ปูนด้วยเถ้าไม้ยางพาราโดยการเพิ่มเวลาบ่มให้มีระยะเวลานานขึ้น การนำเถ้าไม้ยางพารากลับมาใช้ประโยชน์นี้เพื่อช่วยลดกากของเสียอุตสาหกรรมและความสิ้นเปลืองค่าส่งกำจัดทุกเดือนในปริมาณมากถึง</span> 3,000 <span lang="TH">ตันต่อเดือน ซึ่งอาจก่อปัญหาทางสิ่งแวดล้อมจากสภาพความเป็นด่างค่อนข้างสูงของขี้เถ้าที่มีค่า </span>pH <span lang="TH">ระหว่าง </span>9-11<span lang="TH"> และยังเป็นการช่วยลดต้นทุนค่าวัสดุที่ใช้ในการผลิตอิฐบล็อกประสานให้เกิดความคุ้มทุนได้เร็วขึ้น ดินสีส้มถูกใช้เป็นส่วนผสมหลัก </span>6 <span lang="TH">ส่วน ใน </span>7 <span lang="TH">ส่วนโดยน้ำหนัก และส่วนที่เหลือคือ วัสดุประสานซึ่งเป็นการผสมเถ้าไม้ยางพาราเข้ากับปูนซีเมนต์ ในอัตราส่วน</span> 0:100, 10:90, 20:80, 30:70, 40:60 <span lang="TH">และ </span>50:50<span lang="TH"> โดยทดสอบที่ระยะบ่ม </span>60, 90 <span lang="TH">และ </span>120 <span lang="TH">วัน ผลการทดสอบพบว่า ที่ระยะบ่ม 90 วัน อิฐบล็อกประสานมีค่าความต้านแรงอัดสูงที่สุดเท่ากับ </span>5.96, <span lang="TH">4.86</span>, <span lang="TH">4.59</span>, <span lang="TH">3.72</span>, <span lang="TH">3.63 และ 3.40 </span>MPa <span lang="TH">ตามลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอัตราการแทนที่ปูนซีเมนต์ด้วยเถ้าไม้ยางพาราที่เพิ่มขึ้นส่งผลทำให้ความต้านแรงอัดในอิฐบล็อกประสานมีค่าลดต่ำลง โดยอิฐบล็อกประสานมีน้ำหนักเฉลี่ย 5.</span>2<span lang="TH"> กิโลกรัมต่อก้อน และมีค่าความหนาแน่นประมาณ </span>1,740 <span lang="TH">กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร อัตราการแทนที่ที่เหมาะสม คือ 20</span>:80<span lang="TH"> และระยะบ่มที่เหมาะสม คือ 9 วัน ซึ่งทำให้ได้ความต้านแรงอัดเท่ากับ 4.58 </span>MPa <span lang="TH">ผลการศึกษาแสดงให้เห็นความเป็นไปได้ของการใช้เถ้าไม้ยางพาราเป็นวัสดุผสมเพื่อผลิตอิฐบล็อกประสานชนิดไม่รับน้ำหนักซึ่งรับความต้านแรงอัดระหว่าง 2.5</span>-5 MPa <span lang="TH">โดยเพิ่มปริมาณเถ้าไม้ยางพาราได้มากถึงร้อยละ 50 โดยน้ำหนัก ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนการผลิตได้สูงที่สุดจาก </span>4.64<span lang="TH"> บาท เหลือ </span>3.57<span lang="TH"> บาทต่อก้อน และช่วยลดระยะเวลาคืนทุนจาก </span>9.5 <span lang="TH">เดือน เหลือเพียง </span>8.1 <span lang="TH">เดือน</span></p>}, number={2}, journal={วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย}, author={เล็กรุ่งเรืองกิจ นงลักษณ์ and ธัญภัทรานนท์ ภวินท์}, year={2020}, month={ส.ค.}, pages={6} }