https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TSAEJ/issue/feed วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย 2024-04-22T11:41:58+07:00 ปานมนัส ศิริสมบูรณ์ panmanas.si@kmitl.ac.th Open Journal Systems <p><strong>วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย</strong> เป็นวารสารวิชาการทางวิศวกรรมเกษตรและสาขาที่เกี่ยวข้อง จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการของนักศึกษา อาจารย์และนักวิชาการ และเพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการแก่สมาชิก นักวิชาการ และผู้สนใจทั่วไป กำหนดออกปีละ 2 ฉบับ (ระหว่างเดือนมกราคมถึงมิถุนายน 1 ฉบับ และระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม 1 ฉบับ) ต้นฉบับที่รับพิจารณาจะต้องไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารใดมาก่อนและไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารฉบับอื่น บทความที่เผยแพร่ผ่านการประเมินคุณภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องโดยที่รายชื่อผู้เขียนบทความถูกเปิดเผย และผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ถูกเปิดเผย (Single-blind review)&nbsp;</p> <p><strong>Print ISSN:</strong> 1685-408X<br><strong>Online ISSN:</strong> 2651-222X</p> https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TSAEJ/article/view/262707 การประเมินค่าคลอโรฟิลล์ของใบปาล์มน้ำมันโดยใช้ค่าสีร่วมกับการเรียนรู้ของเครื่อง: กรณีศึกษาการเปรียบเทียบระบบสี 2024-04-22T11:41:58+07:00 Kittisak Phetpan kittisak.ph@kmitl.ac.th Jiraporn Onmankhong jiraporn.on@kmitl.ac.th <p>งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินค่าคลอโรฟิลล์ของใบปาล์มน้ำมันโดยใช้ค่าสีร่วมกับการเรียนของเครื่อง ตัวอย่างใบปาล์มน้ำมันรวมทั้งหมด 66 ตัวอย่าง ถูกสุ่มเก็บเพื่อวัดค่าคลอโรฟิลล์และวัดค่าสี L*a*b* จากนั้นค่าสีถูกแปลงเป็นค่าระบบสี RGB และ HSV จะได้ค่าระบบค่าสีที่แตกต่างกันทั้งหมด 16 รูปแบบ ได้แก่ L*a*b*, L*, a*, b*, RGB, R, G, B, HSV, H, S, V, L*a*b* + RGB, L*a*b + HSV, RGB + HSV และ L*a*b*+ RGB + HSV เพื่อทำการสร้างแบบจำลองโดยใช้ค่าคลอโรฟิลล์และระบบค่าสีด้วยการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน (Stepwise linear regression analysis, SLR) และซัพพอร์ตเวกเตอร์รีเกรสชั่น (Support Vector Regression, SVR) โดยใช้วิธีการพิสูจน์แบบไขว้ (Cross Validation) จากนั้นเลือกแบบจำลองที่ดีที่สุดทั้งหมด 3 อันดับแรก ผลจากการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าจริงและค่าทำนาย พบว่าค่าเฉลี่ยของค่าจริงและค่าทำนายจากทั้ง 3 แบบจำลอง ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และพบว่าค่าความแตกต่างของความผิดพลาดเฉลี่ยของแบบจำลอง 3 อันดับแรก ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% แบบจำลองที่เหมาะสมที่สุดถูกพัฒนาจาก L*a*b* ซึ่งใช้วิธี SLR โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R<sup>2</sup>) เท่ากับ 0.59 และมีค่าเฉลี่ยกําลังสองของการทํานายแบบไขว้ (RMSECV) เท่ากับ 5.22 SPAD</p> <p> </p> <p><span class="fontstyle0">This research aims to assess the chlorophyll content of oil palm leaves using color values combined with<br />machine learning. A total of 66 oil palm leaf samples were randomly collected to measure chlorophyll content<br />and L*a*b* color values. The L*a*b* values were converted to RGB and HSV color systems, resulting in 16 different<br />colorimetric features: L*a*b*, L*, a*, b*, RGB, R, G, B, HSV, H, S, V, L*a*b* + RGB, L*a*b* + HSV, RGB + HSV, and L*a*b*+ RGB + HSV. Calibration models were developed using chlorophyll content and colorimetric variables with<br />stepwise linear regression analysis (SLR) and support vector regression (SVR) based on cross-validation. The top<br />three models were selected. Based on the hypothesis test for a difference between means, the means of the<br />predicted values and the actual values of all those 3 models were not statistically different at the 95% confidence<br />level. Additionally, the mean errors of the top 3 models were not statistically different at the 95% confidence<br />level. Among those 3 models, the suitable one having a coefficient of determination (R2) of 0.59 and a root mean<br />square error of cross-validation (RMSECV) of 5.22 SPAD was developed from the L*a*b* color features using SLR<br />approach. <br /></span></p> 2024-06-30T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TSAEJ/article/view/258352 การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ถ่านเหง้ามันสำปะหลังในกระบวนการตีเหล็ก 2023-04-25T09:55:08+07:00 นพฤทธิ์ พรหมลัง noppalith5333@npu.ac.th บุญโชค พ่อตาแสง boonchock@npu.ac.th รณศักดิ์ วิวัฒน์ปรีชานนท์ Ron.npu@hotmail.com วิชาญ ใจสุข Wichanjaisuk21@gmil.com จักรชัย ชิณโคตร jakrachai_chin@hotmail.com พูลทวี ศรพรหม pooltawee@gmail.com วัชรินทร์ เขียวไกร Wat123_kob@hotmail.com พิศมาส หวังดี samas_dee@npu.ac.th <p class="AbstractThai"><span lang="TH">การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้ถ่านเหง้ามันสำปะหลังในกระบวนการตีเหล็ก เพื่อนำถ่านเหง้ามันสำปะหลังมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการเผาเหล็กเพื่อตีขึ้นรูป ทดแทนการใช้ถ่านไม้ ซึ่งมีผลการศึกษาดังนี้ ค่าความร้อนของถ่านเหง้ามันสำปะหลังเฉลี่ยที่ได้จากเตาเผาถ่านทั้ง </span>3 <span lang="TH">รูปแบบอยู่ระหว่าง </span>6,269.38 - 6,431.42 cal·g<sup>-1</sup><span lang="TH"> แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เตาเผาถ่านแบบเผาโดยตรงแบบเปิดฝาบนมีอัตราการผลิตถ่าน เปอร์เซ็นต์ผลผลิตถ่าน ประสิทธิภาพของเตาเผาถ่านมากที่สุด เมื่อนำถ่านเหง้ามันสำปะหลังไปใช้ทดแทนถ่านไม้ในกระบวนการตีเหล็ก พบว่า ถ่านเหง้ามันสำปะหลังสามารถเผาเหล็กเพื่อตีขึ้นรูปด้วยอุณหภูมิสูงสุด </span>961.44<span lang="TH"> °</span>C<span lang="TH"> มีอัตราการเผาไหม้ </span>11.14 kg·h<sup>-1</sup><span lang="TH"> มีความสามารถในการเผาเหล็กได้</span> 0.63 kg<span lang="TH">(</span>iron)·kg<sup>-1</sup><span lang="TH">(</span>coal)<span lang="TH"> และมีค่าใช้จ่ายในการผลิตถ่านเหง้ามันสำปะหลัง </span>3.77 baht·kg<sup>-1</sup><span lang="TH"> สรุปได้ว่าถ่านเหง้ามันสำปะหลังไม่สามารถให้ค่าความร้อนถึงค่าอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเผาเหล็กเพื่อตีขึ้นรูปได้ แต่จากผลการศึกษาโดยรวมสามารถชี้ให้เห็นแนวทางการผลิตถ่านเหง้ามันสำปะหลัง ต้นทุนการผลิตถ่านเหง้ามันสำปะหลัง ซึ่งถ่านเหง้ามันสำปะหลังยังมีศักยภาพสามารถนำไปใช้เป็นถ่านหุงต้มในครัวเรือนได้ นำมาผลิตเป็นเชื้อเพลิงแท่งตะเกียบหรือนำไปใช้ในรูปไบโอชาร์ปรับปรุงดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำได้เช่นกัน</span></p> 2024-03-16T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TSAEJ/article/view/259963 การคัดแยกสายพันธุ์สาหร่ายขนาดเล็กที่มีความสามารถในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพื่อปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพ 2024-01-11T12:22:18+07:00 Patomporn Pulsawad patomporn@tistr.or.th Watcharee Kunyalung non-email@gmail.com Nantanit Tohpong nantanit.tp@gmail.com <p class="AbstractThai"><span lang="TH">การศึกษาเกี่ยวกับการนำสาหร่ายขนาดเล็ก (</span>Micro-algae<span lang="TH">) มาใช้ประโยชน์ในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากก๊าซชีวภาพ ซึ่งเป็นแนวทางเลือกในการใช้เทคโนโลยีทางชีวภาพมาปรับปรุงคุณภาพของก๊าซชีวภาพ โดยทั่วไปองค์ประกอบของก๊าซชีวภาพ จะมีสัดส่วนของก๊าซมีเทน (</span>CH<sub>4</sub><span lang="TH">) ประมาณ 40-75</span>% <span lang="TH">และสัดส่วนของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (</span>CO<sub>2</sub><span lang="TH">) ประมาณ 25</span>-<span lang="TH">5</span>0% <span lang="TH">ในกระบวนการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของสาหร่ายขนาดเล็กเป็นปฏิกิริยาชีวเคมีที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ ส่งผลทำให้สัดส่วนของก๊าซมีเทนในก๊าซชีวภาพมีสัดส่วนที่สูงขึ้น </span>(biomethane)<span lang="TH"> เนื่องจากสาหร่ายขนาดเล็กสามารถใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นแหล่งคาร์บอนให้กับเซลล์ ปัจจัยที่สำคัญในการส่งเสริมการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของสาหร่ายขนาดเล็ก ได้แก่ ชนิดของสาหร่ายขนาดเล็ก อัตราการป้อนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และอากาศ ช่วงเวลาเวลาในการรับแสง สารอาหารที่จำเป็น รูปแบบของชุดปฏิกรณ์ชีวภาพ รวมทั้งสภาวะแวดล้อมที่ใช้ในการเพาะเลี้ยง ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงได้ทำการสำรวจและเก็บตัวอย่างสาหร่ายขนาดเล็กในพื้นที่ที่มีการเกิดก๊าซชีวภาพ ซึ่งได้แก่ ฟาร์มเลี้ยงสุกรและบ่อฝั่งกลบขยะที่มีการผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ทำการคัดแยกสายพันธุ์สาหร่ายขนาดเล็กเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในก๊าซชีวภาพ และรวมถึงการพัฒนาต่อยอดเพื่อการนำสาหร่ายขนาดเล็กไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ ตามศักยภาพของสายพันธุ์สาหร่ายขนาดเล็กชนิดนั้น ๆ ต่อไป</span></p> <p class="AbstractThai"><span lang="TH"> <span class="fontstyle0">Utilizing microalgae for the purpose of absorbing carbon dioxide from bio-based gas is an alternative<br />approach in using biotechnology to enhance the quality of bio-based gas. Generally, the composition of biogas is<br />approximately 40-75% of methane (CH</span><sub><span class="fontstyle0">4</span></sub><span class="fontstyle0">) and 25-50% of carbon dioxide (CO</span><sub><span class="fontstyle0">2</span></sub><span class="fontstyle0">). In microalgae's uptake process,<br />carbon dioxide is a biochemical reaction that occurs inside the cell, resulting in a higher proportion of methane in<br />the biogas, since microalgae can use carbon dioxide as a carbon source for the cells. The important factors in<br />promoting carbon dioxide uptake of microalgae are microalgae species, CO</span><sub><span class="fontstyle0">2</span></sub><span class="fontstyle0">/Air feed rates, Light intensity and<br />Light/Dark photoperiod, Nutrients required, bioreactor type and environmental conditions in culture. This research<br />explored and collected microalgae samples in biogas-producing areas, such as pig farms and biogas-producing</span> <br /></span></p> <p class="AbstractThai"> </p> 2024-06-30T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TSAEJ/article/view/260476 การวิเคราะห์คุณสมบัติผลิตภัณฑ์จากกระบวนการผลิตถ่านด้วยอุปกรณ์ผลิตถ่านแบบ 3 ขั้นตอน 2023-11-02T14:43:39+07:00 Thinnakrit Naruethanan t.naruethanan@gmail.com Sarunrat Khongman non-email@gmail.com Ajaree Ngernngam non-email@gmail.com Chayakarn Sittioad non-email@gmail.com Tipapon Khamdaeng non-email@gmail.com Thanasit Wongsiriamnuay non-email@gmail.com Numpon Panyoyai non-email@gmail.com <p class="AbstractThai"><span lang="TH">งานวิจัยนี้นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์คุณสมบัติของถ่านที่ได้รับจากผลิตถ่านในอุปกรณ์ผลิตถ่านแบบ 3 ขั้นตอน ในการทดลองทำการศึกษาผลิตถ่านด้วยวัสดุชีวมวลทางการเกษตร 3 ชนิด ได้แก่ ไม้ไผ่ ไม้ลำไย และซังข้าวโพด อุปกรณ์ผลิตถ่านแบบ 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย เตาเผาถ่านรูปทรงกระบอกขนาด 200 </span>L <span lang="TH">ชุดกลั่นน้ำส้มควันไม้ และชุดเตาชีวมวลสำหรับเผาควันซ้ำเพื่อลดมลพิษที่ปล่อยสู่สภาพแวดล้อม ผลทดลองพบว่า ได้ผลิตภัณฑ์น้ำส้มควันไม้ดิบจากถ่านซังข้าวโพด 9.03</span>±<span lang="TH">0.57 </span>kg <span lang="TH">จากถ่านไม้ลำไย 11.07</span>±<span lang="TH">0.51 </span>kg <span lang="TH">และจากถ่านไม้ไผ่ 11.13</span>±<span lang="TH">0.31 </span>kg <span lang="TH">โดยมีค่า </span>pH <span lang="TH">อยู่ระหว่าง 3.27-3.40 มีค่าความถ่วงจำเพาะเท่ากับ 1.0089 - 1.0091 หลังจากนั้นนำไปทำให้เป็นน้ำส้มควันไม้บริสุทธิ์ ซึ่งจะมีลักษณะเป็นของเหลวเนื้อเดียวกันไม่แยกชั้น มีกลิ่นควันไฟ สีน้ำตาลแดงใสหรือสีน้ำตาลเหลืองใส ค่า </span>pH <span lang="TH">ระหว่าง 3.62-3.89 ความถ่วงจำเพาะอยู่ระหว่าง 1.0052-1.0072 และพบว่าค่าพลังงานความร้อนของไม้ไผ่ ไม้ลำไย และซังข้าวโพด คือ 7</span>,<span lang="TH">381 </span>Cal g<sup><span lang="TH">-1</span></sup><span lang="TH"> 6</span>,<span lang="TH">923 </span>Cal g<sup><span lang="TH">-1</span></sup><span lang="TH"> และ 7</span>,<span lang="TH">632 </span>Cal g<sup><span lang="TH">-1</span></sup><span lang="TH"> ตามลำดับ</span></p> <p class="AbstractThai"><span lang="TH">The present study aimed to investigate the characteristics of products produced in the charcoal production process utilizing a three-step production unit. The study utilized three different types of biomasses: bamboo, longan wood, and corncob, weighing 40 kg, 40 kg, and 35 kg, respectively. The equipment included a 200 L cylindrical charcoal kiln, a wood vinegar distillation unit, and a biomass kiln for burning smoke to reduce pollution emissions. The raw wood vinegar products from corncob charcoal, longan wood charcoal, and bamboo charcoal weighed 9.03±0.57 kg, 11.07±0.51 kg, and 11.13±0.31 kg, respectively. The pH values ranged from 3.27 to 3.40, while the specific gravities ranged from 1.0089 to 1.0091. The raw wood vinegar was transformed into pure wood vinegar by a settling process. The liquid was noted to be homogenous, with a smoky scent, and had a clear reddish brown or yellowish brown color, with pH values ranging from 3.62 to 3.89 and specific gravities between 1.0052 and 1.0072. The average charcoal yield from the three-step charcoal kiln was: longan wood 9.8 kg, bamboo 9.6 kg, and corncobs 8.7 kg. The calorific values of longan wood charcoal, bamboo charcoal, and corncob charcoal were</span></p> <p class="AbstractThai"> </p> 2024-03-16T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TSAEJ/article/view/262801 Comparative Analysis between Electrified Tractor and Diesel Powered Tractor 2024-04-04T14:28:09+07:00 Abhisek Karki abhisek.karki@uemi.net Bim Shrestha shrestha@ku.edu.np Prashant Paudyal Sharma paudyalprashant98@gmail.com Daniel Tuladhar daniel@ku.edu.np Subarna Basnet sbasnet@mit.edu <p style="font-weight: 400;">The agriculture sector faces increasing pressure to transition towards sustainable practices amidst concerns over climate change and environmental degradation. Electric tractors are emerging as a promising alternative to traditional diesel-powered tractors, offering potential benefits in terms of reduced greenhouse gas emissions, lower operating costs, and enhanced operational efficiency. This study presents a comparative analysis between electrically converted tractors and diesel tractors from a sustainability perspective. Our findings reveal that electric tractors demonstrate significant potential to mitigate environmental impacts associated with agricultural operations, particularly in terms of reducing greenhouse gas emissions and dependence on fossil fuels. Moreover, it has been found that electric tractor offer long-term cost savings through lower fuel and maintenance costs, despite higher initial investment costs. This comparative analysis provides valuable insights for farmers, policymakers, and agricultural stakeholders seeking to make informed decisions regarding tractor technology investments and sustainability strategies. By highlighting the strengths and limitations of electric tractors relative to diesel tractors, this study contributes to the ongoing dialogue on sustainable smart agriculture and the transition towards clean energy technologies in the farming sector.</p> 2024-04-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TSAEJ/article/view/260284 การพัฒนาและประเมินประสิทธิภาพของเครื่องหั่นมันสำปะหลังแบบลูกเต๋า 2023-10-03T13:46:52+07:00 Thanawan Maichoon thanawan.180240@gmail.com Teerapong Pholpho non-email@gmail.com Vasu Udompetaikul non-email@gmail.com <p>งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินประสิทธิภาพของระบบแปรรูปสำหรับเครื่องหั่นมันสำปะหลังแบบลูกเต๋า เพื่อเพิ่มผลผลิต ลดระยะเวลาในการทำงาน และลดจำนวนแรงงาน ระบบที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย เครื่องหั่นหัวมันสำปะหลังแบบแผ่นเครื่องหั่นมันสำปะหลังแบบลูกเต๋า ชุดสายพานลำเลียง และระบบควบคุมการทำงานของชุดสายพานลำเลียง เพื่อตอบสนองการทำงานของระบบให้มีความต่อเนื่องตลอดเวลา จากผลการทดลองหาสภาวะที่เหมาะสมที่สุดของเครื่องหั่นมันสำปะหลังแบบแผ่นของสายพันธุ์ระยอง 9 และเกษตรศาสตร์ 50 พบว่า ความเร็วรอบสำหรับการหั่นเท่ากับ 1,162.38 และ 1,199.15 rpm และอัตราการป้อนเท่ากับ 22.07 และ 20.5 kg min-1 ซึ่งให้เปอร์เซ็นต์มันสำปะหลังแผ่นสมบูรณ์เท่ากับ 77.45% และ 72.65% ตามลำดับ และสำหรับสภาวะที่เหมาะสมที่สุดของเครื่องหั่นมันสำปะหลังแบบลูกเต๋าของสายพันธุ์ระยอง 9 และเกษตรศาสตร์ 50 คือ ความเร็วรอบของชุดหั่นลูกเต๋าเท่ากับ 1,231.69 และ 1,224.74 rpm และอัตราการป้อนเท่ากับ 20.92 และ 22.07 kg min<sup>-1 </sup>ตามลำดับ จากการทดสอบประสิทธิภาพของระบบแปรรูปสำหรับเครื่องหั่นมันสำปะหลังแบบลูกเต๋า พบว่าในกรณีมันสำปะหลังสายพันธุ์ระยอง 9 ความสามารถในการผลิตเท่ากับ 767.59±49.31 kg hr<sup>-1 </sup>และมีเปอร์เซ็นต์ความเป็นลูกเต๋าเท่ากับ 38.01±2.35% ส่วนมันสำปะหลังสายพันธุ์เกษตรศาสตร์50 ความสามารถในการผลิตเท่ากับ 784.31±35.76 kg hr<sup>-1</sup>และมีเปอร์เซ็นต์ความเป็นลูกเต๋าเท่ากับ 40.23±2.46%</p> <p>This research aims to develop and evaluate the efficiency of a processing system for a cassava cutting cube machine. Increase productivity, shorten working time and reduce the number of workers due to the current shortage. The developed system Contributes to making the processing process more continuous. The key components are cassava cutting machine, Cassava cutting cube machine, conveyor belt and control system of conveyor belt. The optimized conditions of the Cassava cutting machine of Rayong 9 and Kasetsart 50 were 1,162.38 and 1,199.15 rpm, and feed rates were 22.07 and 20.5 kg.hr<sup>-1</sup>, respectively. The optimized conditions of the Cassava cutting cube machine of Rayong 9 and Kasetsart 50 were 1,231.69 and 1,224.74 m.min<sup>-1</sup>, and feed rates were 20.92 and 22.07 kg.hr<sup>-1</sup> respectively. System performance testing found, Rayong 9 cultivar had production capability was 767.59±49.31 kg.hr<sup>-1</sup> and percentage of cassava cube was 38.01±2.35%. Kasetsart 50cultivar had a production capability was 784.31±35.76 kg.hr<sup>-1</sup> and percentage of cassava cube was 40.23±2.4%.</p> 2024-03-16T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TSAEJ/article/view/255509 วิจัยและพัฒนาเครื่องฝังปุ๋ยแบบปรับอัตราหยอดอัตโนมัติสำหรับรถแทรกเตอร์ขนาดเล็ก 2022-08-07T22:20:04+07:00 Tanapong Sanchum tanapong_bb@hotmail.com Khanit Wannaronk non-email@gmail.com Wirot Horasart non-email@gmail.com Sarawuth Parnthon non-email@gmail.com Sarocha Thuengsuk non-email@gmail.com Arnon Saicomfu non-email@gmail.com Akkaphap Panpoom non-email@gmail.com Artorn ponboon non-email@gmail.com Uthai Tanee non-email@gmail.com <p> ปุ๋ยเคมีที่มีราคาสูงขึ้นในปัจจุบัน ส่งผลทำให้ต้นทุนการผลิตสูง จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการลดต้นทุนการผลิตโดยการใช้ปัจจัยการผลิต(ปุ๋ย) ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การใส่ปุ๋ยไม้ผล โดยทั่วไปนิยมใช้การหว่าน การให้ปุ๋ยด้วยวิธีการหว่าน มีข้อเสียคือ สูญเสียเนื้อปุ๋ยที่จะหมดไปกับการระเหยไปในอากาศ และเมื่อฝนตกหนักๆ ปุ๋ยจะละลายและไหลไปกับน้ำอย่างรวดเร็ว จึงเกิดการสูญเสียปุ๋ย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิจัยและพัฒนาเครื่องฝังปุ๋ยแบบปรับอัตราหยอดแบบอัตโนมัติสำหรับรถแทรกเตอร์ขนาดเล็ก เพื่อให้ใส่ปุ๋ยได้แม่นยำตามค่าที่ต้องการ เกิดการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด การทำงานจะมีชุดหัวเจาะ จะเจาะหลุมดินกว้าง 10 cm. ลึกประมาณ 15 cm. หลังจากเจาะหลุมเสร็จแล้ว ปุ๋ยจากถังปุ๋ยจะไหลลงท่อที่ติดอยู่ที่ชุดเจาะและถูกปล่อยลงหลุม จากนั้นมีชุดกลบ ระบบควบคุมอัตราหยอดและการจ่ายปุ๋ย โดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์กระแสตรง 12 V 250 w สำหรับควบคุมการจ่ายปุ๋ยตามอัตราการที่กำหนด ดำเนินการทดสอบการเจาะหลุม หยอดปุ๋ยและกลบ 8 หลุมรอบโคนต้น พบว่า เครื่องฝังปุ๋ยแบบปรับอัตราหยอดแบบอัตโนมัติ สามารถใส่ปุ๋ยในอัตราการหยอดต่อต้นได้อย่างแม่นยำ (กำหนดปริมาณปุ๋ยที่ 1 kg.plant<sup>-1</sup> อัตราหยอดปุ๋ย 125 g.hole<sup>-1</sup>) มีความสามารถในการทำงาน 1.07 rai.hr<sup>-1</sup> อัตราสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง 2.65 lite.rai<sup>-1</sup> ที่ความชื้นดิน 15.03 %wb และความหนาแน่นดินสภาพแห้ง 2.13 g.cm<sup>-3 </sup>เครื่องฝังปุ๋ยแบบปรับอัตราหยอดแบบอัตโนมัติสำหรับรถแทรกเตอร์ขนาดเล็กจะมีจุดคุ้มทุนอยู่ที่ 698.52 rai.year<sup>-1</sup></p> <p> </p> <p><span class="fontstyle0">This research aims to develop an automatic fertilizer applicator for small tractors. In order to apply fertilizer<br />precisely as desired, Reduce fertilizer loss from sowing methods. This ensures the most efficient utilization of<br />fertilizer. Working of the drill bit machine the drill bit machine creates a hole in the ground that is 10 cm wide and<br />roughly 15 cm deep. After drilling the hole, fertilizer from the fertilizer tank flows into a pipe attached to the drilling<br />unit and is released into the hole. Then comes the cover set. The system controls the rate of fertilizer application<br />and distribution. Using a microcontroller to control the speed of a 12 V 250 W DC motor for controlling the fertilizer<br />distribution at the specified rate. We carried out an experiment where we drilled eight holes around the tree's<br />base, applied fertilizer to them, and covered them. It was found that the automatic fertilizer applicator was able<br />to apply fertilizer precisely. The fertilizer amount was set at 1 kg plant</span><sup><span class="fontstyle0">-1</span></sup><span class="fontstyle0">, the fertilizer application rate was 125 g<br />hole</span><sup><span class="fontstyle0">-1</span></sup><span class="fontstyle0">, the work capacity was 1.07 rai hr</span><sup><span class="fontstyle0">-1</span></sup><span class="fontstyle0">, the fuel consumption rate was 2.65 L rai</span><sup><span class="fontstyle0">-1</span></sup><span class="fontstyle0">, the soil moisture was 15.03%</span> </p> 2024-06-10T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TSAEJ/article/view/259977 การออกแบบและสร้างเครื่องกลั่นน้ำปลาโซเดียมต่ำสำหรับผลิตภัณฑ์ชุมชนน้ำปลาโบราณ 2023-08-16T23:53:21+07:00 Pattaraporn Sanchatjate pattaraporn_sa@rmutto.ac.th Amonrut Morarach non-email@gmail.com Sutunya Promsomboon non-email@gmail.com Manoch Ratanacoon non-email@gmail.com <p class="AbstractThai"><span lang="TH">งานวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อออกแบบและสร้างเครื่องกลั่นน้ำปลา เป็นทางเลือกในการผลิตน้ำปลาโซเดียมต่ำด้วยวิธีทางกายภาพ โดยใช้เครื่องมือที่มีราคาไม่แพง และมีหลักการทำงานไม่ซับซ้อน สำหรับใช้กลั่นน้ำปลาโบราณป้าบัติ จากกลุ่มผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารทะเลบ้านตลาดล่าง ตำบลบางพระ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยคุณลักษณะของเครื่องกลั่นน้ำปลา ประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก 3 ส่วน คือ ถังต้มน้ำปลา ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 28</span>0 mm <span lang="TH">สูง 24</span>0 mm<span lang="TH"> หัวแยกไอน้ำทรงกรวย ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางฐานกรวย </span>33.4 mm<span lang="TH"> ปิดด้วยแผ่นสแตนเลสสดีล และต่อท่อแยกไอน้ำขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง </span>10.3 mm<span lang="TH"> ยาว </span>50 mm<span lang="TH"> จำนวน </span>4 <span lang="TH">ท่อ และท่อควบแน่นทรงกระบอกปลายปิดทั้งสองด้าน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง </span>114.3 mm<span lang="TH"> ยาว </span>1300 mm<span lang="TH"> ภายในท่อควบแน่นติดตั้งท่อนำไอน้ำ </span>4<span lang="TH"> ท่อ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง </span>10.3 mm<span lang="TH"> ยาว </span>1400 mm <span lang="TH">ต่อทะลุผ่านท่อควบแน่นทั้งสองด้าน ทดสอบสมรรถะเครื่องกลั่น โดยกลั่นน้ำปลาปริมาตร 2</span>,<span lang="TH">500 </span>ml <span lang="TH">ที่เตาให้ความร้อนควบคุมให้มีอุณหภูมิอยู่ที่ 150 </span>°C<span lang="TH"> เครื่องกลั่นน้ำปลาที่ออกแบบและสร้างขึ้นใช้เวลาในการกลั่นเฉลี่ย </span>286.67 min<span lang="TH"> สามารถลดปริมาณโซเดียมคลอไรด์ในน้ำปลาได้ น้ำปลาที่ผ่านการกลั่นมีลักษณะสีน้ำตาลแกมแดง ค่าความสว่างของสี (</span>L*<span lang="TH">) เท่ากับ 0.49</span>±<span lang="TH">0.06 ค่าความเป็นสีแดง-เหลือง (</span>a*<span lang="TH">) เท่ากับ 2.89</span>±<span lang="TH">0.20 และค่าความเป็นสีเหลือง-น้ำเงิน (</span>b*<span lang="TH">) เท่ากับ </span>-<span lang="TH">0.67</span>±<span lang="TH">0.13 มีสีเข้มกว่าน้ำปลาที่ไม่ผ่านการกลั่น ซึ่งมีค่าความสว่างของสี (</span>L*<span lang="TH">) เท่ากับ 26.45</span>±<span lang="TH">0.11 ค่าความเป็นสีแดง-เหลือง (</span>a*<span lang="TH">) เท่ากับ 39.54</span>±<span lang="TH">0.04 และค่าความเป็นสีเหลือง-น้ำเงิน (</span>b*<span lang="TH">) เท่ากับ </span>-<span lang="TH">45.27</span>±<span lang="TH">0.14 น้ำปลาที่ผ่านการกลั่นมีความเค็มเฉลี่ยสูงสุด </span>17.57±0.25 % ww<sup>-1</sup><span lang="TH"> มีความเค็มน้อยกว่าน้ำปลาที่ไม่ผ่านการกลั่นเท่ากับ </span>8.17 % ww<sup>-1</sup><span lang="TH"> สำหรับน้ำที่กลั่นได้มีลักษณะสีใสคล้ายน้ำเปล่า และความเค็มเฉลี่ยเท่ากับ </span>0.26±0.00 % ww<sup>-1</sup><span lang="TH"> และเกลือที่ตกผลึกหลังผ่านกระบวนการกลั่นมีลักษณะเป็นตะกอนสีน้ำตาล มีความเค็มเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ </span>62.56±3.49 % ww<sup>-1</sup></p> <p class="AbstractThai"> </p> <p class="AbstractThai"> <span class="fontstyle0">The objective of this research is to design and construct a fish sauce distillation apparatus as an alternative<br />for low-sodium fish sauce production using a physical method, employing inexpensive tools and a straightforward<br />working principle. We intend to use the apparatus to distill traditional fish sauce from the seafood processing group<br />at Ban Talat Lang, Bang Phra, Sriracha, and Chonburi. The fish sauce distillation apparatus consists of three main<br />components. Firstly, there is a fish sauce boiling tank with a diameter of 280 mm and a height of 240 mm. Secondly there is a conical steam separator with a diameter of 33.4 mm at the base of the cone, as well as a stainless-steel<br />lid. Lastly, there are four pipes for steam separation, each with a diameter of 10.3 mm and a length of 50 mm. The<br />apparatus also includes two double-ended capped pipes with a diameter of 114.3 mm and a length of 1300 mm,<br />and inside these pipes are four steam-carrying pipes with a diameter of 10.3 mm and a length of 1400 mm, passing<br />through both ends of the capped pipes. We tested the distillation efficiency by distilling 2,500 ml of fish sauce at<br />a controlled heating temperature of 150°C. The average time required for the distillation process using the designed<br />and constructed fish sauce distillation apparatus was 286.67 min. The distilled fish sauce has a darker reddishbrown color compared to the non-distilled fish sauce. The color characteristics are as follows: The color brightness<br />(L<sup>*</sup>) has a value of 0.49±0.06, the redness-yellowness (a<sup>*</sup>) has a value of 2.89±0.20, and the yellowness-blueness<br />(b<sup>*</sup>) has a value of -0.67±0.13. This is in contrast to the non-distilled fish sauce, which has the following color<br />characteristics: The color brightness (L<sup>*</sup>) has a value of 26.45±0.11, the redness-yellowness (a<sup>*</sup>) has a value of<br />39.54±0.04, and the yellowness-blueness (b*) has a value of -45.27±0.14. The distilled fish sauce had a maximum<br />average salt content of 17.57±0.25% w w<sup>-1</sup>, which is lower than the salt content of the non-distilled fish sauce,<br />which is 8.17% w w<sup>-1</sup>. The distilled water obtained had a clear appearance similar to regular water, with an average<br />salt content of 0.26±0.00% w w<sup>-1</sup>. Furthermore, the residue left after distilling the saltwater solution had a clumpy<br />brown appearance and a maximum average salt content of 62.56±3.49% w w<sup>-1</sup> <br /></span><br /></p> 2024-04-29T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TSAEJ/article/view/260000 การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและเชิงกลของมะม่วงแก้วก่อนและหลังการดองสำหรับการออกแบบและสร้างเครื่องหั่นและปอกเปลือกชิ้นมะม่วงดอง 2023-10-09T19:22:27+07:00 สิรินาฏ น้อยพิทักษ์ fengsnn@ku.ac.th ณฤดล ผอูนรัตน์ naridol.toy@gmail.com เกรียงไกร มีถาวร non-email@gmail.com กิตติยา วงค์สกุลสุขกูล non-email@gmail.com ศิวลักษณ์ ปฐวีรัตน์ non-email@gmail.com <p>งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพของมะม่วงแก้วผลสดและผลดอง ด้วยการวัดขนาดของผลมะม่วง การทดสอบแรงเฉือนเนื้อมะม่วงแบบตามยาวผลและตามขวางผล และการทดสอบความแน่นเนื้อของมะม่วงแบบปอกเปลือกและแบบไม่ปอกเปลือก แล้วใช้ข้อมูลเหล่านี้ออกแบบเครื่องปอกและหั่นมะม่วงดอง จากขนาดของผลมะม่วงที่วัดได้สามารถกำหนดระยะห่างของใบมีดการหั่นได้ 1.5 cm จะได้ชิ้นเนื้อที่มีขนาดที่เหมาะสม แรงที่กระทำกับเนื้อสัมผัสมะม่วงสามารถทำให้ทราบถึงแรงเริ่มต้นในการหั่นเนื้อมะม่วงและสามารถออกแบบกลไกชุดปอกให้สามารถกดชิ้นมะม่วงดองเป็นระนาบให้กับใบมีดปอก เนื่องจากชิ้นเนื้อมะม่วงดองมีขนาดแตกต่างกัน จึงสามารถออกแบบสร้างและทดสอบเครื่องหั่นและปอกเปลือกชิ้นมะม่วงดองสามารถทำงานได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 การหั่นชิ้นมะม่วง ที่ความเร็วรอบชุดใบมีดหั่น 80 rpm มีประสิทธิภาพอัตราการทำงาน 105.61 kg h<sup>-1</sup> และรูปแบบที่ 2 ใช้งานในกระบวนการหั่นร่วมกับการปอกเปลือกชิ้นเนื้อมะม่วงดอง ด้วยความเร็วรอบชุดใบมีดหั่น 80 rpm มุมใบปอกที่ 2˚ และสายพานตัวล่างสำหรับลำเลียงชิ้นมะม่วงดองและสายพานชุดลูกกลิ้งตัวบนที่ระดับ 0.06 m s<sup>-1</sup> มีประสิทธิภาพการปอกเปลือกชิ้นมะม่วงดองจากเปอร์เซ็นต์การปอก 83.90% และอัตราการทำงาน 48.70 kg h<sup>-1</sup> <br /><br /><span class="fontstyle0">The objective of this research was to study the physical characteristics of fresh and pickled Kaew mango by measuring the size of the mango. The shear strength of the mango pulp was tested on longitudinal and transversal of the fruit, and the firmness test of the pulp was done and compared between peeling and unpeeling fruit. These data were used to design a pickled mango cutting and peeling machine. Based on the measured size of the mango fruits, a blade spacing of 1.5 cm was determined for slicing the mango pulp into optimal size pieces. The action force on the mango pulp could reveal the cutting force of the mango flesh and the peeling mechanism could be designed to press the pickled mango flesh into a plane for the peeling blade. The picked mango cutting and peeling machine was designed, built and tested in 2 functional forms. The first form involved cutting the mango pieces at a blade rotation speed of 80 rpm, achieving an operational rate of 105.61 kg h</span><sup><span class="fontstyle0">-1</span></sup><span class="fontstyle0">. The second form involved simultaneous cutting and peeling of the pickled mango pieces, with a blade rotation speed of 80 rpm, a peeling</span> <br /><br /></p> 2024-01-27T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2023 วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย