@article{โพธิ์ทอง_เมฆอรุณ_ชูสำโรง_2019, title={การพัฒนาระบบฟาร์มอัจฉริยะสำหรับเกษตรกรยุคใหม่ด้วยซอร์ฟแวร์รหัสเปิด และอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง}, volume={16}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/247974}, abstractNote={<p class="1"><span lang="TH">เกษตรกรรมในประเทศไทยยังประสบปัญหาหลายด้านโดยเฉพาะในเรื่องของผลผลิต เนื่องจากเกษตรกรขาดข้อมูลเชิงลึก และสภาพอากาศในปัจจุบันมีความแปรปรวนมาก การตรวจสอบสภาพของสิ่งแวดล้อมในบริเวณที่ทําการเพาะปลูกเป็นสิ่งจำเป็น ในปัจุบันเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม และเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความเจริญก้าวหน้าไปมาก ประกอบมีการใช้งานเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายอย่างแพร่หลาย หากนําเครือข่ายไร้สายมาประยุกต์ใช้งานเพื่อตรวจสอบสภาพของสิ่งแวดล้อม จะทําให้การตรวจสอบสิ่งแวดล้อมมีประสิทธิภาพมากขึ้น เทคโนโลยี </span>Internet of Thing<span lang="TH"> ถูกนำมาประยุกต์ใช้งานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญ ทำให้เกิดนวัตกรรมใหม่อีกมากมาย แนวคิด “สมาร์ทฟาร์ม” คือ การใช้เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออำนวยความสะดวก การจัดการฟาร์มเกษตรกรรมในรูปแบบที่เรียกว่า ระบบฟาร์มอัจฉริยะ (</span>Smart farming system<span lang="TH">) เป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อที่จะสอดคล้องกับ </span>Thailand 4<span lang="TH">.</span>0<span lang="TH"> ที่เป็นการนำเอาเทคโนโลยีมาช่วยส่งเสริมในด้านการเกษตร วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ ผลิตชุดควบคุมสําหรับตรวจวัดสภาพแวดล้อม เช่น อุณหภูมิและความชื้นในอากาศ รวมไปถึงความชื้นในดิน เพื่อให้บุคคลทั่วไปสามารถใช้งานได้ง่ายสะดวกสบาย ประหยัดเวลา ผ่าน</span><a href="http://www.udomsuksa.ac.th/Latphrao/Knowledge/Technology/Internet/lesson.html"><span lang="TH" style="color: windowtext; text-decoration: none; text-underline: none;">ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (</span><span style="color: windowtext; text-decoration: none; text-underline: none;">Internet<span lang="TH">)</span></span></a><span lang="TH"> ด้วยเทคโนโลยี </span>3G, 4G<span lang="TH"> หรือ </span>WiFi<span lang="TH"> และควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านมือถือ </span>Smartphone<span lang="TH"> ผลลัพธ์ที่ได้ ข้อมูลที่ส่งจากเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายเป็นข้อมูลสภาพแวดล้อมเป็นปัจจุบันและข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด เกษตรกรสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนการเพาะปลูก ปรับปรุงขั้นตอนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิต และทำนายอนาคตผลผลิตได้</span></p>}, number={2}, journal={วารสารเกษตรนเรศวร}, author={โพธิ์ทอง ธิติศักดิ์ and เมฆอรุณ ประสิทธิ์ and ชูสำโรง สิทธิชัย}, year={2019}, month={ธ.ค.}, pages={10–17} }