@article{พลซา_ฉัตรเงิน_พูนไพบูลย์พิพัฒน์_2019, title={พิษของใบสาบเสือต่อลูกปลาดุกบิ๊กอุย}, volume={16}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/247979}, abstractNote={<p class="1"><span lang="TH">พืชอัลลีโอพาธี เช่น ใบสาบเสือ เป็นวัชพืชซึ่งสามารถยับยั้งการงอกของวัชพืชชนิดอื่นในนาได้ดี ในการนำมาใช้กำจัดวัชพืชในนาข้าวซึ่งมีการเลี้ยงปลาควบคู่ไปด้วยนั้น ควรศึกษาพิษของสารสกัดใบสาบเสือต่อปลาน้ำจืดเสียก่อน การทดลองนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการประเมินพิษเฉียบพลันของสารสกัดใบสาบเสือต่อลูกปลาดุกบิ๊กอุย โดยนำใบสาบเสือทำให้แห้งและบดแล้วหมักในแอลกอฮอล์เจือจางในอัตราส่วน 1:</span>10 <span lang="TH">จากนั้นกรองแล้วนำสารสกัดน้ำใบสาบเสือไปเจือจางให้มีความเข้มข้น 0, 40, 400, 800, 1200 และ 1500 </span>ppm<span lang="TH"> เพื่อทดลองแช่ในปลาดุกบิ๊กอุยขนาด 10 กรัมต่อตัว ในโหลแก้วให้มีความหนาแน่นไม่เกิน 1 ตัวต่อลิตร สังเกตอาการปลาและบันทึกอัตรารอดจนครบ 96 ชั่วโมง ผลการศึกษาพบว่า ลูกปลาดุกบิ๊กอุยที่แช่ในสารสกัดใบสาบเสือในระดับความเข้มข้น 1500 </span>ppm <span lang="TH">มีอัตราการตาย 100% (หลังแช่ด้วยสารสกัด 3 ชั่วโมง) ในสารสกัด 1200 </span>ppm <span lang="TH">พบว่าลูกปลาตายเพิ่มขึ้นในชั่วโมงที่ 24 แล้วหยุดตาย เมื่อวิเคราะห์ผลแล้วพบว่าค่าความเป็นพิษของใบสาบเสือที่ทำให้ลูกปลาตายครึ่งหนึ่งในเวลา 96 ชั่วโมงคือ 1,111.09 </span>ppm <span lang="TH">จึงสรุปว่าใบสาบเสืออาจมีพิษต่อสัตว์น้ำจำพวกปลาหากมีการใช้ในความเข้มข้นสูง ทำให้ปลาตายได้ </span></p>}, number={2}, journal={วารสารเกษตรนเรศวร}, author={พลซา ภัทรียา and ฉัตรเงิน ชลธิชา and พูนไพบูลย์พิพัฒน์ ธนัชสัณห์}, year={2019}, month={ธ.ค.}, pages={48–54} }