@article{ธรรมนิติเวทย์_2021, title={ไรโซแบคทีเรียส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช: หลักการและการใช้ประโยชน์}, volume={18}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/248047}, abstractNote={<p class="a"><span lang="TH">ไรโซแบคทีเรียส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชหรือที่นิยมเรียกกัน “พีจีพีอาร์” (</span>PGPR<span lang="TH">) พบในบริเวณเขตอิทธิพลรากพืช จัดเป็นแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ภายในรากพืช</span> (iPGPR) <span lang="TH">แบบสมชีพ เช่น แบคทีเรียในปมรากพืช และแบคทีเรียอาศัยอยู่ภายนอกรากพืช</span> (ePGPR) <span lang="TH">แบบการดำรงชีวิตอย่างอิสระในดิน เช่น แบคทีเรียที่อาศัยอยู่ใกล้ผิวรากพืช คุณสมบัติของพีจีพีอาร์ที่พึงประสงค์ ได้แก่ </span>1<span lang="TH">) เพิ่มปริมาณได้ง่ายบริเวณผิวรากพืช </span>2<span lang="TH">) ควบคุมจุลินทรีย์ก่อโรคพืช และ </span>3<span lang="TH">) ทนทานต่อการขาดน้ำ ความเค็ม ความร้อน และรังสีอัตราไวโอเลต อีกทั้งยังมีกลไกส่งเสริมการเจริญเติบโตทั้งทางตรง ได้แก่ การตรึงไนโตรเจน การละลายฟอสเฟต การละลายโพแทสเซียม </span><span lang="TH">การผลิตฮอร์โมนพืช และการเจริญของรากพืช กลไกส่งเสริมการเจริญเติบโตทางอ้อม ได้แก่ การผลิตสารปฏิชีวนะ การผลิตไซเดอร์โรฟอร์ การทนทานต่อสภาพแวดล้อม และการทนทานต่อโลหะหนัก ด้วยคุณสมบัติที่เป็นประโยชน์ดังกล่าวพีจีพีอาร์จึงถูกนำมาทำเป็นผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพที่พัฒนาขึ้นโดยกรมวิชาการเกษตรประกอบด้วย </span>1) <span lang="TH">ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม</span> 2)<span lang="TH"> ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ </span>3<span lang="TH"> ชนิด ได้แก่ ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์-วัน (สำหรับข้าวโพดและข้าวฟ่าง) พีจีพีอาร์-ทู (สำหรับข้าว) และพีจีพีอาร์-ทรี (สำหรับอ้อยและมันสำปะหลัง) และ </span>3)<span lang="TH"> ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต เมื่อนำปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ และปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตมาใช้กับการผลิตพืชสามารถลดการปุ๋ยเคมีได้ร้อยละ </span>50, 25 <span lang="TH">และ</span> 25-50 <span lang="TH">ตามลำดับ นอกจากนี้การใช้ปุ๋ยชีวภาพยังช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้กับพืชและเพิ่มผลผลิตให้แก่เกษตรกร</span></p>}, number={1}, journal={วารสารเกษตรนเรศวร}, author={ธรรมนิติเวทย์ ศุภชาติ}, year={2021}, month={มิ.ย.}, pages={e0180109} }