@article{บุญมา_พลซา_ขุนเจริญรักษ์_2020, title={การใช้ว่านหางจระเข้ในการรักษาบาดแผลปลาดุกลูกผสม (Clarias macrocepha-lus x Clarias gariepinus)}, volume={17}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/248444}, abstractNote={<p class="Style1"><span lang="TH">งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้มข้นของสารสกัดผงว่านหางจระเข้ที่ผสมในน้ำที่ใช้เลี้ยงปลา และผลต่อการหายของบาดแผลปลาดุก โดยมีระดับความเข้มข้นต่าง ๆ กัน คือ ไม่ใส่ผงสารสกัด (ชุดควบคุม) ผสมผงสารสกัดว่านหางจระเข้ </span>100 ppm <span lang="TH">และ </span>200 ppm <span lang="TH">สำหรับชุดการทดลองที่เป็นผลการควบคุมในเชิงบวกนั้น ได้ใช้ออกซีเตตร้าไซคลิน </span>20 ppm <span lang="TH">โดยเริ่มจากการทำให้เกิดแผลในปลาดุกขนาด </span>8-9 <span lang="TH">กรัม (ความยาว </span>3-4 <span lang="TH">นิ้ว) ด้วยสำลีชุบกรดอะซิติกเข้มข้น </span>6% <span lang="TH">ทาบบริเวณลำตัวใต้ครีบหลัง เป็นเวลา </span>1 <span lang="TH">นาที แล้วสังเกตการเกิดบาดแผลของปลาแต่ละตัว โดยให้คะแนน </span>10 <span lang="TH">ในวันที่เกิดบาดแผล จากนั้นคะแนนบาดแผลค่อย ๆ ลดลงตามลำดับการหาย ทำการสังเกตทุก ๆ สามวัน ผลการทดลองพบว่า แผลของปลาดุกลูกผสมเริ่มมีอาการบวมแดงหลังจากทำแผลในวันที่ </span>1-3 (9-10 <span lang="TH">คะแนน) เมื่อการอักเสบลดลง แผลจะมีลักษณะสีแดง แต่น้อยกว่าในวันแรก ๆ (หลังจากการเกิดบาดแผล </span>3-6 <span lang="TH">วัน) จากนั้นจึงมีเนื้อเยื่อบาง ๆ ขึ้นมาปกคลุมแผล เกณฑ์ของแผลหายคือเกิดการปิดของเนื้อเยื่อผิวหนังอย่างสมบูรณ์แต่เกิดแผลเป็น มีรอยแผลที่ผิวหนังจาง ๆ ผลของการใช้สารสกัดว่านหางจระเข้ในการรักษาบาดแผล พบว่า ทั้ง </span>100 <span lang="TH">และ </span>200 ppm <span lang="TH">สามารถทำให้บาดแผลหายเร็วขึ้น โดยเห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว </span>6 <span lang="TH">วัน หลังจากการเกิดบาดแผล ทำให้คะแนนบาดแผลของกลุ่มทั้งสองมีค่าต่ำกว่ากลุ่มควบคุม เช่นเดียวกับการใช้ออกซีเตตร้าซัยคลิน เมื่อพิจารณาดูคะแนนบาดแผลโดยภาพรวม พบว่า ปลาดุกลูกผสมที่ได้รับสารสกัดว่านหางจระเข้มีคะแนนบาดแผลต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (</span>P<0.05) <span lang="TH">โดยไม่มีความแตกต่างกับปลาที่ได้รับออกซีเตตร้าซัยคลิน จากการให้คะแนนบาดแผล พบว่า คะแนนของกลุ่มควบคุมสูงกว่ากลุ่มอื่น ๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในวันที่ </span>6 <span lang="TH">แสดงให้เห็นว่าผงสารสกัดว่านหางจระเข้และออกซีเตตร้าไซคลินสามารถทำให้บาดแผลของปลาดุกลูกผสมมีความเปลี่ยนแปลง ในวันที่ </span>9 <span lang="TH">พบว่า สารสกัดจากว่านหางจระเข้ </span>200 ppm <span lang="TH">ทำให้บาดแผลของลูกปลาดุกลูกผสมลดลงอย่างมาก แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญกับกลุ่มควบคุม (</span>P<0.05) <span lang="TH">และไม่แตกต่างกับการใช้ออกซีเตตร้าไซคลิน (</span>P>0.05)</p>}, number={2}, journal={วารสารเกษตรนเรศวร}, author={บุญมา ฐากูร and พลซา ภัทรียา and ขุนเจริญรักษ์ วรัญยู}, year={2020}, month={ธ.ค.}, pages={e0170204} }