วารสารเกษตรนเรศวร https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal <p><span data-sheets-value="{&quot;1&quot;:2,&quot;2&quot;:&quot;บทความที่รับตีพิมพ์\n1 สาขาวิชาที่เปิดรับการตีพิมพ์ ได้แก่ \n•\tสาขาเกษตรศาสตร์ (พืชศาสตร์ (พืชไร่ พืชสวน ปฐพี กีฏะ โรคพืช วัชพืช ฯลฯ))/ สัตวศาสตร์ และวิทยาศาสตร์การประมง)\n•\tสาขาเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร \n•\tสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร \n•\tสาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม\n•\tสาขาภูมิศาสตร์ \n•\tสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง\n2 บทความที่รับตีพิมพ์ ได้แก่ \n•\tบทความวิชาการ \n•\tบทความวิจัย \nหมายเหตุ ต้องเป็นผลงานใหม่ที่ยังไม่เคยพิมพ์เผยแพร่ในสื่อใด ๆ มาก่อนหรืออยู่ระหว่างการดำเนินการพิจารณาของวารสารอื่น&quot;}" data-sheets-userformat="{&quot;2&quot;:513,&quot;3&quot;:{&quot;1&quot;:0},&quot;12&quot;:0}">วารสารเกษตรนเรศวร</span></p> <p><span data-sheets-value="{&quot;1&quot;:2,&quot;2&quot;:&quot;บทความที่รับตีพิมพ์\n1 สาขาวิชาที่เปิดรับการตีพิมพ์ ได้แก่ \n•\tสาขาเกษตรศาสตร์ (พืชศาสตร์ (พืชไร่ พืชสวน ปฐพี กีฏะ โรคพืช วัชพืช ฯลฯ))/ สัตวศาสตร์ และวิทยาศาสตร์การประมง)\n•\tสาขาเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร \n•\tสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร \n•\tสาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม\n•\tสาขาภูมิศาสตร์ \n•\tสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง\n2 บทความที่รับตีพิมพ์ ได้แก่ \n•\tบทความวิชาการ \n•\tบทความวิจัย \nหมายเหตุ ต้องเป็นผลงานใหม่ที่ยังไม่เคยพิมพ์เผยแพร่ในสื่อใด ๆ มาก่อนหรืออยู่ระหว่างการดำเนินการพิจารณาของวารสารอื่น&quot;}" data-sheets-userformat="{&quot;2&quot;:513,&quot;3&quot;:{&quot;1&quot;:0},&quot;12&quot;:0}">ISSN : 0859-3027 Online ISSN : 2730-356X</span></p> <p><span data-sheets-value="{&quot;1&quot;:2,&quot;2&quot;:&quot;บทความที่รับตีพิมพ์\n1 สาขาวิชาที่เปิดรับการตีพิมพ์ ได้แก่ \n•\tสาขาเกษตรศาสตร์ (พืชศาสตร์ (พืชไร่ พืชสวน ปฐพี กีฏะ โรคพืช วัชพืช ฯลฯ))/ สัตวศาสตร์ และวิทยาศาสตร์การประมง)\n•\tสาขาเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร \n•\tสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร \n•\tสาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม\n•\tสาขาภูมิศาสตร์ \n•\tสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง\n2 บทความที่รับตีพิมพ์ ได้แก่ \n•\tบทความวิชาการ \n•\tบทความวิจัย \nหมายเหตุ ต้องเป็นผลงานใหม่ที่ยังไม่เคยพิมพ์เผยแพร่ในสื่อใด ๆ มาก่อนหรืออยู่ระหว่างการดำเนินการพิจารณาของวารสารอื่น&quot;}" data-sheets-userformat="{&quot;2&quot;:513,&quot;3&quot;:{&quot;1&quot;:0},&quot;12&quot;:0}">กำหนดเผยแพร่ : 2 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 <span style="font-weight: 400;">มกราคม – มิถุนายน และ ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม </span></span></p> <p><span data-sheets-value="{&quot;1&quot;:2,&quot;2&quot;:&quot;บทความที่รับตีพิมพ์\n1 สาขาวิชาที่เปิดรับการตีพิมพ์ ได้แก่ \n•\tสาขาเกษตรศาสตร์ (พืชศาสตร์ (พืชไร่ พืชสวน ปฐพี กีฏะ โรคพืช วัชพืช ฯลฯ))/ สัตวศาสตร์ และวิทยาศาสตร์การประมง)\n•\tสาขาเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร \n•\tสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร \n•\tสาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม\n•\tสาขาภูมิศาสตร์ \n•\tสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง\n2 บทความที่รับตีพิมพ์ ได้แก่ \n•\tบทความวิชาการ \n•\tบทความวิจัย \nหมายเหตุ ต้องเป็นผลงานใหม่ที่ยังไม่เคยพิมพ์เผยแพร่ในสื่อใด ๆ มาก่อนหรืออยู่ระหว่างการดำเนินการพิจารณาของวารสารอื่น&quot;}" data-sheets-userformat="{&quot;2&quot;:513,&quot;3&quot;:{&quot;1&quot;:0},&quot;12&quot;:0}">นโยบายและขอบเขตการตีพิพม์ : บทความที่รับตีพิมพ์บทความวิชาการ ได้แก่ บทความวิจัย (Research Articles) และบทความปริทัศน์ (Review articles) <span style="font-weight: 400;">โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือคณาจารย์ นักศึกษา และนักวิจัยทั้งในและนอกสถาบัน</span> </span><span data-sheets-value="{&quot;1&quot;:2,&quot;2&quot;:&quot;บทความที่รับตีพิมพ์\n1 สาขาวิชาที่เปิดรับการตีพิมพ์ ได้แก่ \n•\tสาขาเกษตรศาสตร์ (พืชศาสตร์ (พืชไร่ พืชสวน ปฐพี กีฏะ โรคพืช วัชพืช ฯลฯ))/ สัตวศาสตร์ และวิทยาศาสตร์การประมง)\n•\tสาขาเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร \n•\tสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร \n•\tสาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม\n•\tสาขาภูมิศาสตร์ \n•\tสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง\n2 บทความที่รับตีพิมพ์ ได้แก่ \n•\tบทความวิชาการ \n•\tบทความวิจัย \nหมายเหตุ ต้องเป็นผลงานใหม่ที่ยังไม่เคยพิมพ์เผยแพร่ในสื่อใด ๆ มาก่อนหรืออยู่ระหว่างการดำเนินการพิจารณาของวารสารอื่น&quot;}" data-sheets-userformat="{&quot;2&quot;:513,&quot;3&quot;:{&quot;1&quot;:0},&quot;12&quot;:0}"><br /><br />หมายเหตุ ต้องเป็นผลงานใหม่ที่ยังไม่เคยพิมพ์เผยแพร่ในสื่อใด ๆ มาก่อนหรืออยู่ระหว่างการดำเนินการพิจารณาของวารสารอื่น</span></p> th-TH <p><em><span style="font-weight: 400;">Journal of TCI is licensed under a Creative Commons </span></em><a href="https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/"><em><span style="font-weight: 400;">Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)</span></em></a><em><span style="font-weight: 400;"> licence, unless otherwise stated. Please read our Policies page for more information...</span></em></p> aginujournal@gmail.com (Associate Professor Thanatsan Poonpaiboonpipat, Ph.D.) aginujournal@gmail.com (Miss Thidarat Suwatwanit) Mon, 16 Sep 2024 15:32:28 +0700 OJS 3.3.0.8 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 ผลของไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแทสเซียม ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของกระชายในจังหวัดพิจิตร https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/263157 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p> ผลของปุ๋ยไนโตรเจนที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของกระชายในจังหวัดพิจิตร การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของปุ๋ยไนโตรเจนที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของกระชายในแปลงเกษตรกรจังหวัดพิจิตร วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block จำนวน 4 ซ้ำ ประกอบด้วย 5 กรรมวิธีได้แก่ วิธีควบคุม (Control) คือ ไม่ใส่ปุ๋ย และใส่ปุ๋ยไนโตรเจน อัตรา คือ 4, 8, 15 และ 30 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัส 1 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ยโพแทสเซียม 18 กิโลกรัมต่อไร่ พบว่า การเจริญเติบโตทางด้านความสูงต้น ความกว้างต้น ความยาวต้น และจำนวนหน่อ ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญกันทางสถิติ แต่อย่างไรก็ตามการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน อัตรา 4 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตรวมสูงสุด 4,189 กิโลกรัมต่อไร่ ให้รายได้สุทธิสูงสุด 126,932 บาท มากกว่าชุดควบคุมและกรรมวิธีอื่น</p> เกษร แช่มชื่น; อนุรักษ์ สุขขารมย์, บังอร แสนคาน Copyright (c) 2024 วารสารเกษตรนเรศวร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/263157 Tue, 10 Dec 2024 00:00:00 +0700 ผลของการเสริมสารประกอบไฟโตจีนิกต่อสมรรถภาพผลผลิตไข่ คุณภาพไข่และดัชนีความเครียดในไก่ไข่ภายใต้การเลี้ยงแบบปล่อยพื้น https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/259095 <p>การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถภาพผลผลิตไข่ คุณภาพไข่ และดัชนีวัดความเครียดของไก่ไข่ที่เลี้ยงแบบปล่อยพื้นที่ได้รับสารเสริมไฟโตจินิกในรูปแบบของน้ำดื่ม การทดลองใช้ไก่ไข่พันธุ์อีซ่าบราวน์ (Isa Brown) อายุ 40 สัปดาห์ จำนวน 256 ตัว แบ่งไก่ออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำๆ ละ 32 ตัว การทดลองแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุม และกลุ่มที่ได้รับน้ำที่มีการเสริมสารประกอบไฟโตจีนิค (Sangrovit® WS) ที่ระดับ 1 กรัมต่อน้ำ 5 ลิตร ผลการทดลองพบว่าไก่ไข่ที่ได้รับน้ำที่มีการเสริมสารประกอบไฟโตจีนิคมีเปอร์เซ็นต์ของผลผลิตไข่ น้ำหนักไข่ มวลไข่และการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักไข่มากกว่ากลุ่มควบคุม (<em>P</em>&lt;0.05) ไก่ไข่ที่ได้รับน้ำที่มีการเสริมสารประกอบไฟโตจีนิคมีค่าของน้ำหนักไข่แดง ไข่ขาว เปลือกไข่และความสูงของไข่ขาวดีกว่ากลุ่มควบคุม (<em>P</em>&lt;0.05) นอกจากนี้พบว่าค่าอัตราส่วนเฮทเทอโรฟิลต่อลิมโฟไซต์ (heterophil/lymphocyte) ของไก่ไข่กลุ่มควบคุมมีค่ามากกว่าไก่ไข่ที่ได้รับน้ำที่มีการเสริมสารประกอบไฟโตจีนิค (<em>P</em>&lt;0.05) การทดลองแสดงให้เห็นว่าสารประกอบไฟโตจินิกส่งผลดีต่อประสิทธิภาพการผลิตไข่ คุณภาพไข่และดัชนีความเครียดของไก่ไข่ที่เลี้ยงแบบปล่อย</p> สุภารักษ์ คำพุฒ, ยุทธนา สุนันตา, ครรชิต ชมภูพันธ์, กฤดา ชูเกียรติศิริ, อาทิตย์ ปัญญาศักดิ์, วิภาวี ฮวบสกุล, ภาสกร ปิยารัมย์ Copyright (c) 2024 วารสารเกษตรนเรศวร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/259095 Mon, 28 Oct 2024 00:00:00 +0700 ประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชต่อพฤติกรรมการถอยห่างของด้วงงวงข้าวโพด (Sitophilus zeamais Motschulsky) https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/263806 <p class="a"><span lang="TH">ด้วงงวงข้าวโพดเป็นแมลงศัตรูโรงเก็บที่สำคัญของเมล็ดข้าวและธัญพืช โดยมักสร้างความเสียหาย</span><br /><span lang="TH">โดยการกัดกินภายนอกเมล็ด ทำให้เกิดความเสียหายต่อปริมาณและคุณภาพเมล็ดได้ โดยการทดลองนี้</span><br /><span lang="TH">มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของด้วงงวงข้าวโพดที่ตอบสนองต่อสารสกัดแต่ละชนิดด้วยวิธีการถอยห่าง</span><br /><span lang="TH">ออกจากบริเวณที่มีสารสกัดจากพืช โดยสารสกัดจากพืชที่ใช้ทดสอบ ได้แก่ น้ำมันหอมระเหยส้ม น้ำมันหอมระเหย</span><br /><span lang="TH">ยูคาลิปตัส และสารสกัดต้นกล้าฟักทอง ความเข้มข้น </span>5%<span lang="TH"> ต่อพฤติกรรมและระยะการถอยห่างจากสารสกัด</span><br /><span lang="TH">ของด้วงงวงข้าวโพดในอุโมงค์ทดสอบ ผลการทดลองพบว่า ด้วงงวงข้าวโพดตัวที่ตอบสนองไวที่สุด </span>(n=5) <br /><span lang="TH">ถอยห่างจากบริเวณวางสารสกัดแตกต่างกันในแต่ละกรรมวิธี โดยที่เวลา 1</span>, 2, 3, 4 <span lang="TH">และ 5 นาที พบด้วงงวงข้าวโพดมีระยะถอยห่างจากจุดวางสารในชุดควบคุม เท่ากับ 19.00±9.02</span>, 24.40±8.05, <span lang="TH">30.20±7.25</span>, 28.20±8.04 <br /><span lang="TH">และ 27.40</span>±<span lang="TH">10.59 ซม. ตามลำดับ ในขณะที่การใช้สารสกัดน้ำมันหอมระเหยส้มส่งผลให้ระยะการถอยห่าง</span><br /><span lang="TH">ของด้วงงวงข้าวโพด เท่ากับ 34.40±3.36</span>, 53.80±6.26, <span lang="TH">56.80±2.68</span>, 58.00±0.00 <span lang="TH">และ 58</span>±0<span lang="TH">0.</span>0<span lang="TH">0 ซม. ตามลำดับ สารสกัดน้ำมันหอมระเหยยูคาลิปตัสส่งผล</span>ใ<span lang="TH">ห้ระยะการถอยห่างของด้วงงวงข้าวโพด เท่ากับ 31.00±10.46</span>, 40.00±11.15, <span lang="TH">50.20±12.43</span>, 51.80±10.82 <span lang="TH">และ 53.80</span>±<span lang="TH">9.39 ซม. ตามลำดับ และสารสกัดต้นกล้าฟักทอง</span><br /><span lang="TH">ส่งผลให้ระยะการถอยห่างของด้วงงวงข้าวโพด เท่ากับ 24.20±10.42</span>, 33.40±16.16, <span lang="TH">32.20±9.70</span>, 35.40±9.23 <span lang="TH">และ 40.60</span>±<span lang="TH">11.84 ซม. ตามลำดับ นอกจากนี้ พบว่าสารสกัดน้ำมันหอมระเหยส้มมีด้วงงวงข้าวโพดถอยห่าง</span><br /><span lang="TH">ไปถึงปลายอุโมงค์ทดสอบมากที่สุด </span>(n=22)</p> นฤมล สุทธิธรรม, ปอรรัชม์ แสงรัตน์, รมิดา กร่ำศรี, ปิยะณัฏฐ์ ผกามาศ, ธีรนัย โพธิ, สุนิตรา อุปนันท์ Copyright (c) 2024 วารสารเกษตรนเรศวร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/263806 Sun, 20 Oct 2024 00:00:00 +0700 ผลของไคโตซานต่อคุณภาพการเก็บรักษาหน่อไม้ฝรั่งสด https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/262797 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของหน่อไม้ฝรั่งสดภายหลังการใช้ไคโตซานผลิตภัณฑ์ทางการค้าอีเด็น (Eden<sup>®</sup>) วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ ประกอบด้วย 2 ทรีทเมนต์ ได้แก่ ไม่เคลือบ <br />(ชุดควบคุม) และเคลือบด้วยผลิตภัณฑ์ Eden<sup>®</sup> จำนวน 3 ซ้ำ ๆ ละ 10 หน่อ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินอายุ<br />การเก็บรักษาและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของหน่อไม้ฝรั่ง โดยการแช่ตัวอย่างนาน 2 นาที ผึ่งให้แห้ง ห่อหุ้มด้วยพลาสติกใส และเก็บรักษาที่อุณหภูมิตู้แช่ 5 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 80-85 เป็นเวลา 14 วัน บันทึกข้อมูลคุณภาพทุก 2 วัน ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงน้ำหนัก ความแน่นเนื้อ การเปลี่ยนแปลงของสีเนื้อ คุณภาพทางด้านประสาทสัมผัส และคุณภาพทางด้านจุลินทรีย์ รวมทั้งอายุการเก็บรักษา พบว่า ผลิตภัณฑ์ Eden<sup>®</sup> มีประสิทธิภาพ<br />ในการรักษาคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาหน่อไม้ฝรั่งนานถึง 14 วัน ที่อุณหภูมิเก็บรักษาที่ 5 องศาเซลเซียส <br />เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุมมีอายุการเก็บรักษาเพียง 11 วัน โดยผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีผลช่วยชะลอการสูญเสียน้ำหนัก ความแน่นเนื้อ การเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของสีเนื้อ รักษาคุณภาพด้านประสาทสัมผัส (สี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส และการยอมรับ) อยู่ในเกณฑ์ที่ผู้บริโภคพอใจ ซึ่งดีกว่าชุดควบคุม นอกจากนี้ การใช้ผลิตภัณฑ์ Eden<sup>®</sup> <br />ยังมีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ตลอดการเก็บรักษา</p> ทรายขวัญ บุญช่วยสุข, กัลย์กนิต พิสมยรมย์, ธนสรณ์ รักดนตรี, มยุรี กระจายกลาง Copyright (c) 2024 วารสารเกษตรนเรศวร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/262797 Mon, 16 Sep 2024 00:00:00 +0700 การบริหารจัดการน้ำโดยชุมชนมีส่วนร่วมตั้งรับปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศเกษตรจากการพัฒนาระบบชลประทาน https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/264039 <p> การศึกษาเพื่อเตรียมการขับเคลื่อน การตั้งรับและปรับตัวของเกษตรกรต่อการพัฒนาระบบเกษตรกรรมด้วยการบริหารจัดการน้ำโดยชุมชนมีส่วนร่วม ดำเนินการในพื้นที่โครงการอ่างเก็บน้ำแม่พวก อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างรวมทั้งสิ้น 479 ราย มีความรู้ต่ำกว่าปริญญาตรี 94.36% มีอายุเกิน 40 ปี คิดเป็น 86.64% มีเพียง 16.29% ที่มีอาชีพเกษตรกรรม มีหนี้สิน 64.42% ผู้ให้ข้อมูลต้องการให้เกิดการรวมกลุ่มผู้ใช้น้ำ <br />16 กลุ่ม ขอให้ยกระดับเป็นกลุ่มบริหารจัดการผลิตทางการเกษตร มีตัวแทนเกษตรกร 28 ราย จาก 3 ตำบล ร่วมกันหารือและสัมภาษณ์เชิงลึก มีการวิเคราะห์เพื่อวางแผนการตั้งรับและปรับตัวในอนาคต โดยเกษตรกรต้องการแนวทางในการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืนในรูปแบบระบบนิเวศการเกษตรใหม่ อาทิ เกษตรอินทรีย์ วนเกษตร เกษตรทฤษฎีใหม่และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเกษตร โดยอาศัยจุดแข็งของภูมิสังคม รวมทั้งต้องการแก้ไขปัญหาระบบการเกษตรเดิมที่มีรายได้ต่ำ แก้ไขปัญหาหนี้สินจากวิกฤตหรือภัยคุกคามเดิมคือ น้ำท่วม น้ำหลากและขาดแคลนน้ำ ต้องการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการการผลิต การแปรรูปและการตลาด มีความพร้อมในการเปิดรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีเชิงระบบทั้ง 12 ประเด็น ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กลุ่มเกษตรกรตัดสินใจเลือกระบบการผลิตใหม่ทั้ง 18 ระบบ ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แสดงถึงความพร้อมในการปรับตัวต่อการใช้ระบบชลประทานใหม่แบบท่อส่งน้ำและเกษตรกรให้ความสำคัญต่อผู้ที่มีบทบาทต่อการสร้างความสำเร็จ ทั้ง 5 กลุ่ม (ผู้นำท้องถิ่น เกษตรกร ผู้นำเกษตรกร พ่อค้า นักวิชาการภาครัฐหรือข้าราชการ) (<em>P</em> &lt; 0.05) โดยภาพรวมเกษตรกรในพื้นที่พร้อมที่จะมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำเพื่อการยกระดับอาชีพเกษตรกรรมและสร้างเศรษฐกิจพอเพียงสู่ความยั่งยืนทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม</p> เดช วัฒนชัยยิ่งเจริญ, วันดี วัฒนชัยยิ่งเจริญ, กวีชา แซ่หว้า, กมลภรณ์ บุญถาวร, พรนภา สุตะวงค์, พรมงคล ชิดชอบ Copyright (c) 2024 วารสารเกษตรนเรศวร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://li01.tci-thaijo.org/index.php/aginujournal/article/view/264039 Mon, 16 Sep 2024 00:00:00 +0700