@article{สุวอ_ธีธารักษ์_มยศิริยานันท์_จี้อาทิตย์_เตชะวงค์เสถียร_2018, title={การประเมินพันธุ์มะเขือเทศรับประทานสดผลเล็กต้านทานโรคไวรัส ใบหงิกเหลืองสายพันธุ์ไทย (TYLCTHV) และตรวจสอบยีนต้านทาน Ty-2 และ Ty-3 ด้วยเครื่องหมายโมเลกุล}, volume={46}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agkasetkaj/article/view/250195}, abstractNote={<p><span dir="ltr">โรคไวรัสใบหงิกเหลืองมีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัส Begomovirus เป็นโรคไวรัสที่ระบาดรุนแรงในการผลิต</span><span dir="ltr">มะเขือเทศ (</span><span dir="ltr"><em>Solanum lycopersicu</em>m</span><span dir="ltr"> L.) โดยเฉพาะในพื้นที่เขตร้อนและร้อนชื้นรวมทั้งประเทศไทย การใช้พันธุ์</span><span dir="ltr">ต้านทานเป็นวิธีการควบคุมโรคได้แบบยั่งยืน ดังนั้นงานทดลองนี้จึงมุ่งคัดเลือกพันธุ์มะเขือเทศที่ต้านทานต่อไวรัส</span><span dir="ltr">ใบหงิกเหลือง รวมทั้งประเมินผลผลิตและคุณภาพผลผลิต (brix และวิตามินซี) ทำ</span><span dir="ltr">การประเมินในมะเขือเทศรับประทาน</span><span dir="ltr">สดผลเล็ก จำ</span><span dir="ltr">นวน 9 พันธุ์ร่วมกับพันธุ์ต้านทาน 2 พันธุ์ และอ่อนแอเปรียบเทียบ 1 พันธุ์ โดยวางแผนการทดลองแบบ</span><span dir="ltr">สุ่มบล็อกสมบูรณ์ จำ</span><span dir="ltr">นวน 3 ซ้ำ</span><span dir="ltr"> ๆ ละ 10 ต้น ประเมินการแสดงออกลักษณะความต้านทานต่อโรคไวรัสใบหงิกเหลือง</span><span dir="ltr">สายพันธุ์ไทย และประเมินการแสดงออกของยีน </span><span dir="ltr">Ty-2</span><span dir="ltr"> และ </span><span dir="ltr">Ty-3</span><span dir="ltr"> โดยใช้ SCAR marker จำ</span><span dir="ltr">นวน 2 markers </span><span dir="ltr">จากการศึกษาสามารถคัดเลือกมะเขือเทศรับประทานสดผลเล็กที่ต้านทานต่อโรคไวรัสใบหงิกเหลืองสายพันธุ์ไทย</span><span dir="ltr">ได้จำนวน 1 พันธุ์ คือ GT1-2-7 ซึ่งมียีน </span><span dir="ltr">Ty-3/ty-3</span><span dir="ltr"> เหมือนกับพันธุ์ต้านทานเปรียบเทียบที่พบยีน </span><span dir="ltr">Ty-2/Ty-2</span><span dir="ltr"> และ </span><span dir="ltr">Ty-3/Ty-3 </span><span dir="ltr">อีกทั้งยังพบว่า มะเขือเทศรับประทานสดผลเล็กมีผลผลิตสูงจำ</span><span dir="ltr">นวน 3 พันธุ์คือ CHRY, Cindy sweet และ </span><span dir="ltr">Maneetabtim มีผลผลิตเท่ากับ 839.10, 742.00 และ 563.30 กรัม/ต้น ตามลำดับ สำหรับพันธุ์ที่มีปริมาณของแข็ง</span><span dir="ltr">ที่ละลายได้สูง คือพันธุ์ Maneetabtim, Red lady และ Yellow sweet มีค่า 11, 10 และ 9.74 brix ตามลำดับ และ</span><span dir="ltr">พันธุ์มีประมาณวิตามินซีสูงคือพันธุ์ GT-1-2-7 และพันธุ์ VF-134 มีค่า 3.10 และ 2.46 มก./100 ก. น้ำ</span><span dir="ltr">หนักสด </span><span dir="ltr">ตามลำดับ ดังนั้นพันธุ์ที่มีศักยภาพที่จะนำ</span><span dir="ltr">มาพัฒนาพันธุ์ให้มีคุณภาพที่ดี ผลผลิตสูงและต้านทานต่อโรคไวรัส</span><span dir="ltr">ใบหงิกเหลืองได้มี 6 พันธุ์คือ GT1-2-7, CHRY, Red lady, Yellow sweet, Cindy sweet และ Maneetabtim</span></p>}, number={5}, journal={วารสารแก่นเกษตร}, author={สุวอ พัชราภรณ์ and ธีธารักษ์ มณทินี and มยศิริยานันท์ ธวัชชัย and จี้อาทิตย์ นครินทร์ and เตชะวงค์เสถียร สุชีลา}, year={2018}, month={ต.ค.}, pages={965–974} }