@article{ไตรทิพย์ชวลิต_อนุสนธิ์พรเพิ่ม_เขียวรื่นรมณ์_ธนะจิตต์_2018, title={การตอบสนองด้านการเจริญเติบโตและผลผลิตของอ้อยปลูกพันธุ์ K95-84 ต่อการให้ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์และโพแทสเซียมไทโอซัลเฟต}, volume={46}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agkasetkaj/article/view/250198}, abstractNote={<p><span dir="ltr">ดำเนินกํารทดลองในแปลงของเกษตรกร บ้</span><span dir="ltr">ํานช่องด่</span><span dir="ltr">ําน ตำบลช่องด่</span><span dir="ltr">าน อำเภอบ่อพลอย จังหวัด</span><span dir="ltr">กาญจนบุรี เพื่อศึกษาการตอบสนองด้</span><span dir="ltr">านการเจริญเติบโตและผลผลิตของอ้อยต่อการให้ปุ๋ยโพแทสเซียมไทโอซัลเฟต</span><span dir="ltr">ทางใบของอ้อยพันธุ์ K 95-84 ในชุดดินกำแพงแสน วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block </span><span dir="ltr">(RCBD) จำนวน 4 ซ้ำ ประกอบด้วย 9 ตำรับการทดลอง ที่เป็นการเปรียบเทียบอัตราปุ๋ยโพแทสเซียม 3 อัตรา ได้แก่ </span><span dir="ltr">2.5, 5.0 และ 7.5 กก. K<sub>2</sub>O</span><span dir="ltr">/ไร่ โดยตำรับที่ 1-3 (T1-T3) ใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ทางดิน ตำรับที่ 4-6 (T4-T6) </span><span dir="ltr">ฉีดพ่นปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ทางใบ และตำรับที่ 7-9 (T7-T9) ฉีดพ่นปุ๋ยโพแทสเซียมไทโอซัลเฟตทางใบตามลำดับ </span><span dir="ltr">ใส่ปุ๋ยเมื่ออ้อยอายุ 3 เดือนหลังปลูก เก็บเกี่ยวผลผลิต และข้อมูลองค์ประกอบพืชเมื่ออ้อยปลูกอายุครบ 12 เดือน </span><span dir="ltr">ผลการศึกษํา พบว</span><span dir="ltr">ํา กํารฉีดพ่นปุ๋ยโพแทสเซียมไทโอซัลเฟตที่อัตรา 7.5 กก. K<sub>2</sub>O</span><span dir="ltr">/ไร่ (T9) ทำให้ได้ผลผลิตน้ำหนัก</span><span dir="ltr">สดของอ้อย และชีวมวลส่วนเหนือดินสูงสุดอย</span><span dir="ltr">ํางมีนัยสำคัญท</span><span dir="ltr">างสถิติเท่</span><span dir="ltr">ํากับ 21.46 และ 26.10 ตันต่อไร่ต</span><span dir="ltr">ามลำดับ </span><span dir="ltr">รองลงมาได้แก่ การฉีดพ่นปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์อัตรา 5 กก. K<sub>2</sub>O</span><span dir="ltr">/ไร่ (T5) ที่ได้เท่</span><span dir="ltr">ากับ 17.56 และ 23.79 ตัน/ไร่ </span><span dir="ltr">ส่วนการให้โพแทสเซียมทางดินในทุกอัตราได้ผลผลิตทั้งสองส่วนต่ำที่สุด กํารฉีดพ่นปุ๋ยโพแทสเซียมไทโอซัลเฟตที่</span><span dir="ltr">อัตรา 7.5 กก. K</span><sub><span dir="ltr">2</span></sub><span dir="ltr">O/ไร่ (T9) ยังทำให้อ้อยมีค่</span><span dir="ltr">าปริมาณการดูดใช้กำมะถันในส่วนยอดสูงสุดอย่</span><span dir="ltr">างมีนัยสำคัญยิ่งทาง</span><span dir="ltr">สถิติเท่</span><span dir="ltr">ากับ 37.48 กก./ไร่ ซึ่งสอดคล้องกับผลผลิตน้ำหนักสดลำอ้อยที่มีค่</span><span dir="ltr">าสูงสุด</span></p>}, number={5}, journal={วารสารแก่นเกษตร}, author={ไตรทิพย์ชวลิต พจรัตน์ and อนุสนธิ์พรเพิ่ม สมชัย and เขียวรื่นรมณ์ เอิบ and ธนะจิตต์ ศุภิฌา}, year={2018}, month={ต.ค.}, pages={991–1000} }