@article{พนมจันทร์_จำจด_ฤกษ์เกษม_Dell_พรมอุทัย_2016, title={ความแปรปรวนของลักษณะสัณฐานวิทยาในเมล็ดข้าวพันธุ์สังข์หยดจากภาคใต้ของประเทศไทย}, volume={44}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agkasetkaj/article/view/250292}, abstractNote={<p><span dir="ltr">ข้าวพันธุ์สังข์หยดนิยมบริโภคกันมากขึ้นในกลุ่มผู้บริโภคที่รักสุขภาพ เนื่องจากมีคุณภาพการหุงต้มที่ดีและ</span><span dir="ltr">มีคุณค่าทางโภชนาการสูง แต่พบว่าลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเมล็ดข้าวพันธุ์ดังกล่าว มีลักษณะของความขุ่นและใส</span><span dir="ltr">ของเมล็ดเกิดขึ้นเป็นจำ</span><span dir="ltr">นวนมากทั้งภายในและระหว่างประชากรข้าวที่ปลูกในพื้นที่ต่างกัน การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์</span><span dir="ltr">เพื่อประเมินความแตกต่างของลักษณะทางสัณฐานวิทยาของข้าวพันธุ์สังข์หยดจากภาคใต้ โดยเก็บตัวอย่างเมล็ดพันธุ์</span><span dir="ltr">ข้าวสังข์หยดที่ปลูกจากแปลงเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา จำนวน 22 ตัวอย่าง และนำมาปลูก</span><span dir="ltr">ทดสอบในรุ่นลูกเพื่อวัดความแตกต่างของลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเมล็ด ได้แก่ สีเยื่อหุ้มเมล็ด ขนาด รูปร่างและ</span><span dir="ltr">น้ำหนักเมล็ด ความขาวและความใสของเมล็ด ชนิดข้าวสาร จำนวนเมล็ดขุ่นและเมล็ดใส ในแต่ละตัวอย่าง พบว่ามีความ</span><span dir="ltr">แปรปรวนในลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเมล็ดทั้งภายในและระหว่างประชากรข้าวพันธุ์สังข์หยดที่เก็บมา สีเยื่อหุ้มเมล็ด</span><span dir="ltr">ที่สังเกตได้ด้วยตาเปล่า มีค่าดัชนีความหลากหลาย (H’) อยู่ระหว่าง 0-0.3 และเมื่อขัดสีเป็นข้าวขาวพบว่าภายในประชากร</span><span dir="ltr">ตัวอย่างข้าวมีสัดส่วนเมล็ดใสและขุ่นแตกต่างกันมาก น้ำ</span><span dir="ltr">หนัก 100 เมล็ดมีการกระจายตัวค่อนข้างสูง ในข้าวเปลือกอยู่ใน</span><span dir="ltr">ช่วง 1.61-1.83 กรัม และในข้าวกล้องอยู่ในช่วง 1.24-1.43 กรัม เมื่อจำ</span><span dir="ltr">แนกเมล็ดใสและขุ่นภายในประชากรออกมา พบว่า</span><span dir="ltr">ลักษณะเมล็ดใสมีน้ำ</span><span dir="ltr">หนักเมล็ดมากกว่าเมล็ดขุ่นอย่างมีนัยสำ</span><span dir="ltr">คัญทางสถิติ แต่ไม่มีความแตกต่างของขนาดเมล็ดทั้งภายใน</span><span dir="ltr">และระหว่างประชากร ลักษณะความขุ่นและใสของเมล็ดข้าวสังข์หยดมีผลต่อน้ำ</span><span dir="ltr">หนักเมล็ด โดยพบความสัมพันธ์ทางบวก</span><span dir="ltr">ระหว่างน้ำ</span><span dir="ltr">หนัก 100 เมล็ดของข้าวกล้องกับจำ</span><span dir="ltr">นวนเมล็ดใส (r=0.50, P<0.05) ในขณะที่พบความสัมพันธ์ทางลบกับเมล็ด</span><span dir="ltr">ขุ่น (r=-0.50, P<0.05) และยังพบความสัมพันธ์เช่นเดียวกันนี้ในข้าวเปลือกด้วย ลักษณะเมล็ดใสและขุ่นที่พบในเมล็ดข้าว</span><span dir="ltr">พันธุ์สังข์หยดมีผลต่อการสูญเสียน้ำ</span><span dir="ltr">หนักเมล็ด กระทบต่อรายได้จากการขายข้าวและคุณภาพข้าวในด้านอื่นๆ ดังนั้นจึงต้อง</span><span dir="ltr">มีการศึกษาเรื่องความแตกต่างของโครงสร้างเมล็ดข้าวที่มีความใสและขุ่นใ</span><span dir="ltr">นเชิงลึกต่อไป</span></p>}, number={1}, journal={วารสารแก่นเกษตร}, author={พนมจันทร์ นันทิยา and จำจด ศันสนีย์ and ฤกษ์เกษม เบญจวรรณ and Dell, Bernard and พรมอุทัย ชนากานต์}, year={2016}, month={มี.ค.}, pages={83–94} }