TY - JOUR AU - บุญเกื้อ, ปรินทร AU - ตรีโลเกศ, วิทยา AU - อิศรางกูร ณ อยุธยา, สุภัทร์ AU - ชูสาย, ชุตินันท์ AU - ศีลเตโช, ศิวพร AU - Hammecker, Claude AU - Hartmann, Christian AU - สุวรรณัง, นพมณี PY - 2018/06/26 Y2 - 2024/03/29 TI - สมบัติทางฟิสิกส์ดินและการย่อยสลายของเศษซากใบยางพาราในแปลงยางพาราที่มีอายุแตกต่างกัน JF - วารสารแก่นเกษตร JA - KAJ VL - 46 IS - 3 SE - DO - UR - https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agkasetkaj/article/view/250099 SP - 497-506 AB - <p><span dir="ltr">การศึกษาสมบัติทางฟิสิกส์ของดิน และอัตราการย่อยสลายของเศษซากใบยางพาราในแปลงยางพาราของ</span><span dir="ltr">เกษตรกรที่บ้านคำ</span><span dir="ltr">ไฮผักแว่น อำ</span><span dir="ltr">เภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ซึ่งเป็นชุดดินชุมพวง (Chum Phuang series: Cpg) </span><span dir="ltr">(Coarse-loamy, siliceous, isohyperthermic Typic Kandiustults) วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete </span><span dir="ltr">Block (RCB) จำ</span><span dir="ltr">นวน 3 ซ้ำ</span><span dir="ltr">&nbsp;ในแปลงยางพาราที่มีอายุแตกต่างกัน คือ 5, 11 และ 22 ปี พบว่าความหนาแน่นรวมของ</span><span dir="ltr">ดิน (bulk density, BD) ไม่มีความแตกต่างทางสถิติในทุกระดับความลึกระหว่างแปลงปลูกยางพาราที่มีอายุต่างกัน </span><span dir="ltr">ดินที่ปลูกยางพาราอายุ 22 ปี มีค่าสัมประสิทธิ</span><span dir="ltr">์</span><span dir="ltr">การนำน้ำของดินสูงกว่า ดินที่ปลูกยางพาราอายุน้อยกว่าอย่างมีนัย</span><span dir="ltr">สำคัญทางสถิติ และแปลงยางพาราอายุ 5 ปี มีค่าสัมประสิทธิ</span><span dir="ltr">์</span><span dir="ltr">การนำน้ำของดินต่ำ</span><span dir="ltr">ที่สุด สำหรับการศึกษาการย่อยสลาย</span><span dir="ltr">ของใบยางพารา ใช้เทคนิคการฝังถุงตาข่ายในดินในลักษณะแนวตั้ง 3 ซ้ำ</span><span dir="ltr">ต่อแปลง โดยให้ส่วนบนของถุงตาข่ายอยู่ใน</span><span dir="ltr">ระดับพื้นผิวดิน เก็บถุงตาข่ายที่ช่วงเวลา 0, 1, 6 และ 12 เดือน ผลการศึกษาพบว่า น้ำ</span><span dir="ltr">หนักแห้งของซากที่เหลืออยู่ของ</span><span dir="ltr">เศษซากใบยางพาราในช่วง 1, 6 และ 12 เดือน มีความแตกต่างในแต่ละช่วงเดือน โดยแปลงยางพาราอายุ 11 และ </span><span dir="ltr">22 ปี มีน้ำ</span><span dir="ltr">หนักแห้งของซากที่เหลืออยู่ต่ำ</span><span dir="ltr">ที่สุดหลังวางเศษซากทิ้งไว้ 1 เดือน</span><span dir="ltr">(36.2 - 40.25%)</span><span dir="ltr">ตามด้วยแปลงยางพารา</span><span dir="ltr">อายุ 5 ปี (51.63%)</span><span dir="ltr">โดยมีอัตราการย่อยสลายเศษซาก (k)</span><span dir="ltr">สูงสุดในช่วงหลังวางเศษซากทิ้งไว้ 1 เดือนในแปลงยางพารา</span><span dir="ltr">อายุ 11 และ 22 ปี เท่ากับ 0.030 – 0.033 d</span><span dir="ltr">-1 </span><span dir="ltr">และ 0.023 d</span><span dir="ltr">-1 </span><span dir="ltr">สำหรับแปลงยางพารา อายุ 5 ปี เศษซากใบยางพารามี</span><span dir="ltr">การย่อยสลายจนหมดที่ช่วง 12 เดือนหลังการวางถุงเศษซาก ค่าเฉลี่ยของน้ำ</span><span dir="ltr">หนักเศษซากที่หายไปในแปลงยางพารา</span><span dir="ltr">ทุกอายุมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับปริมาณน้ำ</span><span dir="ltr">ฝน ความชื้นสัมพัทธ์และความชื้นของดิน</span></p> ER -