TY - JOUR AU - แซ่เฮ้ง, วันทรา AU - อนุสนธิ์พรเพิ่ม, สมชัย AU - เขียวรื่นรมณ์, เอิบ AU - ธนะจิตต์, ศุภิฌา AU - กิตติวัฒน์โสภณ, กิตติพงศ์ PY - 2018/10/25 Y2 - 2024/03/29 TI - ผลของแคลเซียมและโบรอนต่อการป้องกันการแตกของผลพลับพันธุ์ฟูยู JF - วารสารแก่นเกษตร JA - KAJ VL - 46 IS - 5 SE - DO - UR - https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agkasetkaj/article/view/250183 SP - 857-866 AB - <p><span dir="ltr">การศึกษาทำ</span><span dir="ltr">ในแปลงพลับพันธุ์ฟูยูที่มีอายุ 15 ปี บริเวณสวนสองแสน สถานีวิจัยดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่</span><span dir="ltr">เพื่อเปรียบเทียบผลของแคลเซียม และโบรอนที่ให้ทางใบต่อการป้ องกันผลแตก คุณภาพ และผลผลิตของพลับพันธุ์</span><span dir="ltr">ฟูยู และความเข้มข้นของธาตุอาหารในใบพลับที่ระยะ 2 เดือนก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต วางแผนการทดลอง </span><span dir="ltr">Randomized Complete Block จำ</span><span dir="ltr">นวน 4 ซ้ำ</span><span dir="ltr"> ตำรับการทดลองเป็นการฉีดพ่นทางใบ ประกอบด้วย น้ำ</span><span dir="ltr">เปล่า (T1) </span><span dir="ltr">แคลเซียมคลอไรด์ความเข้มข้น 0.25% (T2) และ 0.5% (T3) กรดบอริกความเข้มข้น 0.15% (T4) และ 0.30% (T5) </span><span dir="ltr">ใช้ปริมาณน้ำ</span><span dir="ltr">&nbsp;5 ลิตร/ต้น ทำ</span><span dir="ltr">การฉีดทั้งหมด 6 ครั้งทุก 2 สัปดาห์ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม 2559 พบว่า </span><span dir="ltr">การให้แคลเซียมคลอไรด์ทางใบความเข้มข้น 0.5% (T3) ทำ</span><span dir="ltr">ให้ได้จำ</span><span dir="ltr">นวนผลพลับสมบูรณ์สูงสุดอย่างมีนัยสำ</span><span dir="ltr">คัญ</span><span dir="ltr">ยิ่งทางสถิติเท่ากับ 82.5 ผล/ต้น จำ</span><span dir="ltr">นวนผลพลับแตกสูงสุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 169.0 ผล/ต้น และ</span><span dir="ltr">น้ำหนักสดผลพลับที่ขายได้สูงสุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 18.73 กิโลกรัม/ต้น การให้กรดบอริกทางใบทั้ง</span><span dir="ltr">สองความเข้มข้น (T4 และ T5) มีผลทำ</span><span dir="ltr">ให้ผลพลับมีความกว้าง ความยาว ความสูง น้ำ</span><span dir="ltr">หนัก และมีความสมบูรณ์</span><span dir="ltr">ของผลดีที่สุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และยังทำ</span><span dir="ltr">ให้ความเข้มข้นของโบรอนในใบสูงสุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ</span><span dir="ltr">เท่ากับ 30.7 และ 23.4 มก./กก. ตามลำดับ ขณะที่ความเข้มข้นของธาตุอาหารอื่นไม่มีความแตกต่างกันระหว่าง</span><span dir="ltr">ตำรับการทดลอ</span></p> ER -