TY - JOUR AU - ชลอเจริญยิ่ง, วันเพ็ญ AU - ศักดิ์ศิริรัตน์, วีระศักดิ์ AU - สุริหาร, พลัง AU - เลิศรัตน์, กมล เลิศรัตน์ PY - 2016/06/27 Y2 - 2024/03/29 TI - การประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมของข้าวโพดเพื่อความต้านทานโรคราสนิมในประเทศไทย JF - วารสารแก่นเกษตร JA - KAJ VL - 44 IS - 2 SE - DO - UR - https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agkasetkaj/article/view/250314 SP - 229-236 AB - <p><span dir="ltr">รคราสนิมเป็นปัญหาหนึ่งที่สำ</span><span dir="ltr">คัญในการผลิตข้าวโพดในเขตร้อนและเขตกึ่งร้อนรวมทั้งประเทศไทย ข้อมูล</span><span dir="ltr">เชื้อพันธุกรรมข้าวโพดไทยที่ต้านทานต่อโรคราสนิมนั้นยังมีค่อนข้างจำ</span><span dir="ltr">ากัด วัตถุประสงค์ของการทดลองนี้เพื่อประเมิน</span><span dir="ltr">ลักษณะความต้านทานโรคราสนิมในเชื้อพันธุกรรมของข้าวโพด จำนวน 18 สายพันธุ์/พันธุ์ ณ แปลงทดลองหมวดพืชผัก </span><span dir="ltr">คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในฤดูแล้ง ปี 2555/2556 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบล็อก</span><span dir="ltr">จำนวน 4 ซ้ำ ปลูกพันธุ์อ่อนแอ ATS5 เพื่อใช้เป็นแถวแพร่กระจายเชื้อ</span><span dir="ltr"><em> Puccinia polysora</em> </span><span dir="ltr">Underw 2 แถว ล้อมรอบแปลง</span><span dir="ltr">ทดลอง เมื่อข้าวโพดพันธุ์ทดสอบมีอายุ 2 สัปดาห์หลังการออกดอก ประเมินคะแนนการป็นโรคราสนิม ผลการศึกษาพบว่า</span><span dir="ltr">พันธุ์ข้าวโพดที่ทดสอบมีคะแนนการเป็นโรคอยู่ระหว่าง 3.50 ถึง 8.24 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ สายพันธุ์ </span><span dir="ltr">Ki56 มีระดับความต้านทานสูงที่สุดมีค่าคะแนนการเป็นโรคเท่ากับ 8.24 รองลงมา ได้แก่ พันธุ์ Fancy111 มีค่าคะแนน</span><span dir="ltr">เท่ากับ 7.3 และพันธุ์ที่มีความอ่อนแอต่อการเข้าทำ</span><span dir="ltr">ลายของโรคมากที่สุด คือสายพันธุ์ A5 ซึ่งมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50 </span><span dir="ltr">ทั้งสองพันธุ์ Ki56 และ Fancy 111 มีเปอร์เซ็นต์ความต้านทานโรค 42 และ 26 เปอร์เซ็นต์ สูงว่าพันธุ์อ่อนแอมาตรฐาน </span><span dir="ltr">ATS5 ตามลำดับ ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า เชื้อพันธุกรรมข้าวโพดสายพันธุ์ Ki56 และ พันธุ์ Fancy 111 สามารถใช้เป็น</span><span dir="ltr">แหล่งต้านทานโรคราสนิมสำหรับการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดต่อไป</span></p> ER -