@article{ขันยม_บุญสูง_2024, title={ความหลากหลายของตัวอ่อนแมลงชีปะขาวในลำธารต้นน้ำน่าน จังหวัดน่าน: Species diversity of mayfly larvae at the Nan headwater streams, Nan province}, volume={2}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/atj/article/view/251430}, abstractNote={<p><span lang="TH">ศึกษาความหลากหลายของตัวอ่อนแมลงชีปะขาว </span>(<span lang="TH">อันดับ </span>Ephemeroptera) <span lang="TH">ในลำธารต้นน้ำน่าน จังหวัดน่าน โดยเก็บตัวอย่างทั้งหมด </span><span lang="EN-GB">8</span><span lang="TH"> สถานี จำนวน </span><span lang="EN-GB">3</span><span lang="TH"> ครั้ง (พฤศจิกายน </span><span lang="EN-GB">2562</span><span lang="TH"> มีนาคม </span><span lang="EN-GB">2563</span><span lang="TH">พฤศจิกายน </span><span lang="EN-GB">2563) </span><span lang="TH">เก็บตัวอ่อนแมลงชีปะขาวด้วยสวิง และเก็บด้วยมือ</span> <span lang="TH">ผลการศึกษาพบตัวอ่อนแมลงชีปะขาวทั้งหมด </span><span lang="EN-GB">14</span><span lang="TH"> วงศ์ </span><span lang="EN-GB">3</span>5<span lang="TH"> สกุล </span><span lang="EN-GB">43</span><span lang="TH"> ชนิด ตัวอ่อนแมลงชีปะขาววงศ์ </span><span lang="EN-GB">Heptageniidae </span><span lang="TH">มีความหลากหลายมากที่สุด รองลงมาคือ วงศ์ </span><span lang="EN-GB">Baetidae </span><span lang="TH">และวงศ์ </span><span lang="EN-GB">Ephemerellidae </span><span lang="TH">ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปรพบว่า สถานีแม่น้ำว้า และสถานีน้ำตกสะปันมีความสัมพันธ์กับความหลากชนิด และการกระจายตัว โดยมีความหลากชนิดของตัวอ่อนแมลงชีปะขาวมากที่สุด และมีชนิดที่พบเฉพาะสองสถานีเท่านั้น ซึ่งสองสถานีมีสภาพแหล่งอาศัยย่อยที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของตัวอ่อนแมลงชีปะขาว และเป็นสถานีที่ถูกรบกวนน้อยจากกิจกรรมของมนุษย์</span></p>}, number={2}, journal={วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี}, author={ขันยม ณัฐกันต์ and บุญสูง บุญเสฐียร}, year={2024}, month={ก.พ.}, pages={76–84} }