https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/issue/feed วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง 2024-02-27T14:19:28+07:00 นายประภาพรณ์ ขันชัย [email protected] Open Journal Systems <p>เพื่อเป็นสื่อกลางเผยแพร่ความรู้ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ และบทความวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาชนบท ถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ให้แก่ชุมชน ผ่านบทความวิชาการของผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ตลอดจนเผยแพร่กิจกรรมของสำนักบริการวิชาการ และข้อมูลข่าวสารอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน</p> https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/261173 การพัฒนาสมรรถนะในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองขอนแก่น 2023-11-09T11:13:51+07:00 แสงระวี อุปสัย [email protected] <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p><strong>&nbsp;</strong></p> <p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของ อสม.ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองขอนแก่น ใน อสม.กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมพัฒนาศักยภาพงานคุ้มครองผู้บริโภค อสม.กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมพัฒนาศักยภาพงานคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นการอบรมมีเนื้อหาประกอบด้วย 1) การสร้างเสริมคุณลักษณะเฉพาะตัวของ อสม. 2) ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3) ทักษะที่ใช้ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค 4) การพัฒนาอัตมโนทัศน์งานคุ้มครองผู้บริโภค และ 5) การสร้างแรงจูงใจในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคและปฏิบัติการออกสำรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพตามร้านค้าในชุมชน&nbsp; ผลการศึกษา พบว่า อสม. ส่วนใหญ่ ของตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เป็นเพศหญิง อายุ &nbsp;50– 60 ปี สถานภาพสมรส ประกอบอาชีพเกษตรกร จบระดับชั้นประถมศึกษา ข้อมูลคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทั้ง 5 ด้านถูกวิเคราะห์ด้วย MANOVA (multivariate analysis of variance) ก่อนการทดลองคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทั้ง 5 ด้าน ของ อสม. ทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (T<sup>2</sup> =0.02;&nbsp; F<sub>(5 , 96)</sub> =&nbsp; 0.584; p = 0.76) หลังได้รับโปรแกรมพัฒนาศักยภาพแล้ว พบว่า อสม.กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01&nbsp; (T<sup>2</sup> = 39.01;&nbsp; F<sub>(5 , 96)</sub> =&nbsp; 748.95; p = .00) ทั้งด้านความรู้การคุ้มครองผู้บริโภค&nbsp; ด้านทักษะการคุ้มครองผู้บริโภค&nbsp; ด้านอัตมโนทัศน์ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค และด้านแรงจูงใจการคุ้มครองผู้บริโภค&nbsp; ดังนั้นควรจัดให้ อสม. ทุกคนได้รับโปรแกรมพัฒนาศักยภาพงานคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมให้ มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานสาธารณสุขต่อไป</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The purpose of this research was to compare the performance of consumer protection operations of Mueang Kao Subdistrict Village Health Volunteers, Mueang Khon Kaen District in the experimental group and control group, before and after receiving the consumer protection potential development program. Village health volunteers in the experimental group received a program to develop their potential in consumer protection work, which consisted of training content consisting of 1) strengthening the unique characteristics of village health volunteers, 2) knowledge about health products, 3) skills used in carrying out consumer protection work. consumption 4) development of self-concept in consumer protection work, and 5) creation of motivation for consumer protection work and conducting surveys of health products in stores in the community.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results of the study found that most village health volunteers in Mueang Kao Subdistrict Mueang Khon Kaen District were female, 50–60 years old, marital status, working as a farmers and completed primary school. Data on the average performance scores in all 5 areas of consumer protection operations were analyzed with MANOVA (multivariate analysis of variance). Before the experiment, the mean performance scores in consumer protection operations of the two groups were not significantly different (T<sup>2</sup> =0.02; F<sub>(5 , 96)</sub> = 0.584; p = 0.76). After receiving the capacity development program, it was found that village health volunteers in the experimental group had a significantly higher average score of competency in consumer protection operations than the control group at the 0.01 level (T<sup>2</sup>= 39.01; F<sub>(5 , 96)</sub> = 748.95; p = .00) in terms of consumer protection knowledge, consumer protection skills, self-concept in consumer protection operations, and consumer protection motivation. Therefore, it should be arranged for all village health volunteers to receive a program to develop their potential in consumer protection work to promote their knowledge and ability to continue performing public health work.</p> 2023-12-29T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/260867 การเพาะเลี้ยงไข่น้ำด้วยการใช้แสงไฟทดแทนแสงอาทิตย์ร่วมกับระบบ Internet Of Things (IoT) 2023-10-12T13:34:25+07:00 ชนะชัย ฤทธิ์ทรงเมือง [email protected] ประภาพรณ์ ขันชัย [email protected] ประหยัด สืบเมืองซ้าย [email protected] กัมพล ไทยโส [email protected] สมหวัง กูกขุนทด [email protected] <p>การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการเพาะเลี้ยงไข่น้ำด้วยการควบคุมสภาพแวดล้อมจำลองแสงธรรมชาติโดยให้แสงจากหลอดไฟสำหรับปลูกพืชที่มีความเข้มแสงระหว่าง 7,000-10,000 ลักส์ มีประสิทธิภาพในการให้ผลผลิตที่สูงกว่าการเลี้ยงด้วยสภาพแวดล้อมจากแสงตามธรรมชาติ และสามารถจัดการปัจจัยควบคุมต่างๆ โดยการใช้เทคโนโลยี Internet of Things (IoT) เช่น ความเข้มแสง อุณหภูมิ ความเป็นกรดด่าง และปริมาณปุ๋ย ให้มีความเหมาะสมต่อการผลิตไข่น้ำ โดยให้แสงไฟเป็นระยะเวลา 10 ชั่วโมงต่อวัน และ 24 ชั่วโมงต่อวัน ใช้ระยะเวลาในการทดลอง 5 วัน และติดตามผลการเพาะเลี้ยงไข่น้ำ โดยมีวิธีการดำเนินการวิจัยทั้งวิจัยเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพและเชิงทดลอง พบว่า 1) ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักต่อจำนวนต้นไข่น้ำ ชุดทดลองที่ 1 มีความสัมพันธ์ (ร้อยละ 97) ชุดทดลองที่ 2 มีความสัมพันธ์ (ร้อยละ 97) และชุดทดลองที่ 3 มีความสัมพันธ์ (ร้อยละ 99.87) 2) ด้านจำนวนไข่น้ำกับจำนวนวันที่เลี้ยงพบว่า ชุดทดลองที่ 1 มีน้ำหนักเฉลี่ย 318.60± 40.03 ต้น ชุดทดลองที่ 2 มีน้ำหนักเฉลี่ย 1,157.40± 159.58 ต้น และชุดทดลองที่ 3 มีน้ำหนัก 6,662.80±428.80 ต้น ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (p&lt;0.05) 3) ด้านน้ำหนักไข่น้ำกับจำนวนวันที่เลี้ยงพบว่า ชุดทดลองที่ 1 มีจำนวน 0.0389±0.0025 กรัม ชุดทดลองที่ 2 &nbsp;มีจำนวน 0.1578±0.0133 กรัม และชุดทดลองที่ 3 มีจำนวน 0.9679±0.0547 กรัม ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (p&lt;0.05) ผลการศึกษาพบว่าการเพาะเลี้ยงไข่น้ำภายใต้การจัดการปัจจัยควบคุมต่างๆ และสภาพแวดล้อมจำลองแสงธรรมชาติ ทั้งจำนวนต้นเฉลี่ยและน้ำหนักเฉลี่ยสูงกว่าการเพาะเลี้ยงด้วยสภาพแวดล้อมจากแสงตามธรรมชาติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p&lt;.01) และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นตามระยะเวลาที่ให้แสง</p> <p>Abstract</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; This research aims to study the effectiveness of cultivating <em>Wolffia arrhizal (L.) Wimm</em> by controlling the environment mimicking natural conditions, using light from bulb plant grow with an intensity between 7,000-10,000 lux. This approach was found to be more efficient in yielding higher production compared to traditional environmental conditions with natural light. Various control factors were managed using Internet of Things (IoT) technology, such as light intensity, temperature, pH, and fertilizer quantity, to optimize <em>Wolffia arrhizal (L.) Wimm</em> production. Light was provided for 10 hours and 24 hours per day during a 5-day experimental period. The research was conducted quantitatively, qualitatively, and experimentally. The findings were as follows 1) The relationship between weight and the Number of egg plant specimens: Experiment set 1 had a correlation of 97%, experiment set 2 had a correlation of 97%, and experiment set 3 had a correlation of 99.87%. &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;2) The Number of egg plant in relation to the number of days of cultivation: Experiment treatment 1 had an average egg of 318.60± 40.03 egg plant, experiment treatment 2 had an average egg of 1,157.40± 159.58 egg plant, and experiment treatment 3 had an average egg of 6,662.80± 428.80 egg plant. The differences were statistically significant (p&lt;0.05). 3) The weight of egg plant in relation to the number of days of cultivation: Experiment treatment 1 had an average weight of 0.0389±0.0025 g., experiment treatment 2 had an average weight of 0.1578±0.0133 g., and experiment treatment 3 had an average weight of 0.9679±0.0547 g. The differences were statistically significant (p&lt;0.05). The study concluded that cultivating <em>Wolffia arrhizal (L.) Wimm</em> under controlled factors and in an environment mimicking natural conditions resulted in significantly higher average numbers and weights of egg plant specimens compared to cultivation under natural light conditions. The trend increased with the duration of light exposure, as supported by statistical significance (p&lt;.01)</p> 2023-12-29T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/257924 วิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอบำเหน็จณรงค์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 2023-02-13T22:32:40+07:00 ์Ntapat Worapongpat [email protected] <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอบำเหน็จณรงค์ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 และ (2) เปรียบเทียบ วิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอบำเหน็จณรงค์ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 จำแนกตามระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน <br>การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร ได้แก่ ครูผู้สอนในอำเภอบำเหน็จณรงค์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 จำนวน 459 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ครูผู้สอนในอำเภอบำเหน็จณรงค์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 จำนวน 210 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโยการเปิดตารางของเครจซี่และมอร์แกน และทำการสุ่ม อย่างง่าย วิธีดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (2) สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (3) เก็บรวบรวมข้อมูล และ (4) วิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที <br>ผลการวิจัย พบว่า (1) วิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอบำเหน็จณรงค์ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 โดยรวมทุกด้าน อยู่ในระดับมาก และ (2) ผลการเปรียบเทียบวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอ บำเหน็จณรงค์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 จำแนกตามระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน โดยรวมและรายด้าน พบว่าไม่แตกต่างกัน </p> 2023-12-29T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/256869 การนิเทศแบบสนับสนุนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ในสถานการณ์ โควิด 19 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 2023-01-31T14:31:47+07:00 อารยา ช่ออังชัญ [email protected] <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อประเมินสมรรถภาพในการนิเทศแบบสนับสนุนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์โควิด 19 2. ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนิเทศแบบสนับสนุนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์โควิด 19 3. ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์โควิด 19 4. ประเมินความพึงพอใจของผู้บริหารและครูที่มีต่อนิเทศแบบสนับสนุนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์โควิด 19 5. ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองที่มีต่อเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์โควิด 19 6.ประเมินผล การเรียนรู้ของนักเรียนก่อนและหลังการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์โควิด 19<br>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง ประเภทการทดลองกึ่งทดลอง (Pre Experimental Design) ซึ่งผู้วิจัยได้ดำเนินการทดลองตามแบบแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest Posttest Design กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1) ผู้บริหารจำนวน 7 คน 2) ครู 7 โรงเรียน 1 สาขา จำนวน 12 คน ในกลุ่มตะนาวศรี โดยใช้การสุ่มแบบอาสาสมัคร (volunteer sampling) 3) นักเรียนจำนวน 328 คน และ4) ผู้ปกครอง จำนวน 328 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยและคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ 3) แบบประเมินทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยและคณิตศาสตร์ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกับการนิเทศการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5) คู่มือการนิเทศการสอน 6) แบบประเมินสมรรถภาพครู 7) แบบสัมภาษณ์ 8) แบบประเมินทักษะการนิเทศการสอน 9) แบบทดสอบวัดความรู้เกี่ยวกับการนิเทศการสอน 10) แบบสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกับการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา(Content Analysis) วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณสถิติวิเคราะห์ โดย ใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) ได้แก่ ค่าร้อยละ ส่วนที่เป็นคำถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ด้วยการหาค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยร้อยละและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ผลการวิจัยพบว่า ครูผู้นิเทศมีสมรรถภาพในการนิเทศแบบสนับสนุนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง ครูผู้รับการนิเทศมีสมรรถภาพในการการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครองพึงพอใจเกี่ยวกับการนิเทศแบบสนับสนุนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด</p> <p><br><strong>คำสำคัญ:</strong> การนิเทศแบบสนับสนุน, ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, สถานการณ์โควิด 19</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The objectives of this research were: 1. to assess the competence in supportive supervision to enhance students' learning achievement in the situation of COVID-19; COVID-19 Situation 3. Assess the knowledge and understanding of learning management to enhance students' learning achievement in the situation of COVID-19 4. Assess the satisfaction of administrators and teachers with supportive supervision to raise the level. Student's Academic Achievement in the COVID-19 Situation 5. Assess the students' and parents' satisfaction towards raising the student's academic achievement in the situation of COVID-19 6. Evaluate the learning outcomes of students before and after raising the level of student achievement in the situation of COVID-19In this research is an experimental research. Type of quasi-experimental experiment (Pre Experimental Design), which the researcher conducted the experiment according to the research model, One Group Pretest Posttest Design. sample group In this research, 1) 7 administrators 2) 12 teachers in 7 schools in 1 branch of Tanaosri group. Using volunteer sampling, 3) 328 students and 4) 328 parents. The research instruments consisted of 1) a test to measure learning achievement in Thai language and mathematics Grade 3 2) Student satisfaction questionnaire on learning management to enhance learning achievement at the national level 3) Thai and mathematical skills assessment form 4) Satisfaction questionnaire about Supervision to enhance learning achievement 5) Teaching supervision manual 6) Teacher performance assessment form 7) Interview form 8) Supervising Teaching Skills Assessment 9) Teaching Supervisory Knowledge Test 10) Satisfaction Questionnaire About Enhancement of Learning Achievement The qualitative data was analyzed by content analysis, quantitative data analysis, statistical analysis by using descriptive statistic, i.e. percentage value; The mean, mean percentage and standard deviation were analyzed.<br>The results showed that The supervising teachers had the ability to provide supportive<br>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;supervision to enhance learning achievement after the experiment higher than before the experiment. Teachers receiving supervision had higher capacity in learning management to enhance learning achievement after the experiment than before the experiment. At the .05 level, the school administrators, teachers, students and parents were satisfied with the supportive supervision to raise their learning achievement.</p> <p><strong>Keywords:</strong> supportive supervision, enhance academic achievement, COVID-19 situation</p> 2023-12-29T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/261358 Reform of Enterprise Management Model in The Era of Digital Economy Case Study of a Chinese Exhibition Industry Company 2024-01-15T16:17:37+07:00 ์Ntapat Worapongpat [email protected] <p>The objectives of this research are 1. to study the situation of the organization of the conference and exhibition industry, MICE business of Beijing Province 2. Survey and analyze the potential of Beijing's MICE industry, conferences, and exhibitions. 3. Study guidelines for developing organizational management of the conference and exhibition industry, MICE business of Beijing Province is a mixed methods research. There are research tools including questionnaires and interviews. The sample size is 55 people, which comes from calculating the sample size/target group using the Kenzie Ann Morgan formula. at an error level of 0.05 that comes from random sampling The data collected from the questionnaire were then analyzed using descriptive statistics, consisting of percentages, means, standard deviations, and recordings. The data was collected from documents/literature/interviews.</p> <p>The research results found that</p> <p>1 found that the organization of the conference and exhibition industry, MICE business in the digital economy era of Beijing Province of China is moderate.</p> <p>2 It was found that the convention and exhibition industry, MICE business in the digital economy era of Beijing Province has good potential and has a complete tourism infrastructure.</p> <p>3 found that existing strengths should be promoted to set the direction for Beijing to be a destination for organizing important MICE activities in the country.</p> 2023-12-29T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/261549 Factors Affecting Customers' Purchase Intentions Towards Organic food Products in Chengdu. 2023-12-14T22:31:32+07:00 ์Ntapat Worapongpat [email protected] <p>This research aims to 1. To study the opinions that affect consumers' purchase intentions towards organic food products in Chengdu. 2. To study the factors that influence consumers' purchase intentions towards organic food products. in Chengdu 3. To study the factors that have a relationship and have a positive influence on consumers' purchasing intentions towards organic food products in Chengdu. This research combines qualitative and quantitative research (Mixed Methods). Research tools include questionnaires/interviews. with a sample group/target group Using the calculation principles of (1962) to calculate the power value (1-β) equal to 0.95, the alpha value (α) equal to 0.05, the number of variables equal to 8, the effect size value equal to 0.1296158 (which is calculated Obtained from the partial R2 value of 0.114921) equal to 184 sets, which the researcher added for a total of 240. Then the data collected from the questionnaire were analyzed using descriptive statistics, consisting of percentage, mean, standard deviation, and analysis. Recession Let's analyze it in terms of content. Then use the information gathered from documents/literature/interview forms.<br>The research results found that<br>1) Purchase Intention: Consumers expect organic food products.<br>In Chengdu healthy ingredients<br>2) Factors influencing consumers' purchase intentions towards organic food products in Chengdu include physical health factors, food, and healthy and good ingredients for the body.<br>3) Purchase intention of organic food products in Chengdu and pointed out that the factors Health awareness Confidence in food safety The statistical significance level is at the .01 level.</p> 2023-12-29T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/262248 ผลกระทบของภาวะโลกร้อนต่อการผลิตพืชและการปรับตัว 2024-02-21T10:12:00+07:00 อนันต์ พลธานี [email protected] <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ภูมิอากาศเป็นปัจจัยสำคัญต่อการผลิตพืช ภาวะโลกร้อนที่ทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น และรูปแบบการตกของฝนเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต เนื่องจากการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่บรรยากาศ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจะทำให้ปริมาณผลผลิตพืชลดลงมากน้อยแตกต่างกันขึ้นอยู่กับความรุนแรงของแต่ละพื้นที่และแต่ละปี บทความนี้ ได้กล่าวถึงสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ปัจจัยสำคัญในการผลิตพืช &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;การเจริญเติบโตของพืช และระบบการปลูกพืช การบรรเทาและการปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบจากภาวะโลกรอนรวมทั้งผลกระทบของภาวะโลกร้อนในเชิงบวกต่อการผลิตพืช</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong>&nbsp; ภาวะโลกร้อน, การผลิตพืช, การปรับตัว</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Climate is the primary important factor for crop production. Global warming caused increasing temperature and changing rainfall pattern. This was mainly due to release of greenhouse gases into the atmosphere. The impact of global warming would reduce crop yield with variation areas to areas and year to year. This article reviews the cause of occurring global warming, impact of global warming on climate change, important factors for crop production, crop growth and cropping systems, mitigation and adaptation, as well as the positive effect of global warming on crop production.</p> <p><strong>Keywords:</strong> global warming, crop production, adaptation</p> 2023-12-29T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง