วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal <p>เพื่อเป็นสื่อกลางเผยแพร่ความรู้ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ และบทความวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาชนบท ถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ให้แก่ชุมชน ผ่านบทความวิชาการของผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ตลอดจนเผยแพร่กิจกรรมของสำนักบริการวิชาการ และข้อมูลข่าวสารอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน</p> สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น en-US วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง 2773-9694 การติดตามประเมินผลการฝึกอบรมหลักสูตรผู้ดำเนินการการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง 130 ชั่วโมง, สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/263101 <p>บทคัดย่อ</p> <p>การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินการหลักสูตรผู้ดำเนินการกิจการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง 130 ชั่วโมง สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิตของโครงการ โดยเป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน ประกอบด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบสอบถามติดตามประเมินผลหลักสูตร และ 2) แบบสัมภาษณ์แบบแนวคำถามปลายเปิด การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ 95% Confidence Interval ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ &lt;0.05 ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) สรุปผลการวิจัย มีดังนี้</p> <ol> <li>ผลการติดตามประเมินผลการอบรม พบว่ามีความเหมาะสมมากที่สุด การดำเนินการจัดหลักสูตรผู้ดำเนินการกิจการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพึง 130 ชั่วโมง เนื้อหาหลักสูตรตรงตามความต้องการของผู้เข้าอบรม และความสอดคล้องกับประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุขให้สถานประกอบการบริการโดยวิทยากรผู้ที่มีความรู้ความชำนาญ ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจ ทักษะและสมรรถนะที่ได้รับจากการฝึกอบรมนำไปปรับใช้ได้จริง</li> <li>ผลการประเมินด้านการดำเนินการจัดอบรม พบว่ามีความพึงพอใจมากที่สุด การดำเนินการจัดอบรมด้านกระบวนการฝึกอบรมการเรียนออนไลน์ผ่าน Zoom Meeting มีความสะดวก เนื่องจากทำงานประจำอาจจะไม่มีเวลาเดินทางไปอบรมต่างจังหวัด เนื้อหาในเอกสาร/คลิปวิดีโอการเรียนการสอน มีความเข้าใจง่าย การจัดการด้านระบบคลังความรู้ออนไลน์ทั้งเอกสารและคลิปการเรียนการสอนเป็นประโยชน์ในการเข้าถึง ความพึงพอใจต่อการจัดอบรมนั้นผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านเจ้าหน้าที่ให้บริการ</li> <li>ผลประเมินด้านผลผลิต พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกหัวข้อ ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและสมรรถนะที่ได้รับจากการฝึกอบรม ผู้เข้าอบรมเกิดการเพิ่มพูนองค์ความรู้และสมรรถนะในการประกอบอาชีพอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคนิคด้านการดูแลและส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ทำให้เกิดความก้าวหน้าและการเพิ่มระดับค่าตอบแทนในการประกอบอาชีพได้ สามารถพัฒนางานและกระบวนการดำเนินงาน อีกทั้งยังสามารถการสร้างเครือข่ายระหว่างผู้ที่อยู่ในสายงานเดียวกัน สร้างเครือข่ายระหว่างหน่วยงานในธุรกิจบริการสุขภาพ การต่อยอดในส่วนของการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งภาครัฐและเอกชน ส่งผลให้เพิ่มมาตรฐานต่อการดำเนินการในธุรกิจบริการสุขภาพ และส่งผลดีต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงอย่างยั่งยืนในอนาคต</li> </ol> <p> </p> <p>คำสำคัญ: ผู้ดำเนินการการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง ติดตามและประเมินผล ธุรกิจบริการสุขภาพ</p> <p>Abstract</p> <p>The Follow-up and Evaluation of the Health Care Managerfor Older or Dependent Persons 130 Hours Training Course,Office of Academic Services, Khon Kaen University</p> <p> </p> <p>This research study aimed to follow-up and evaluate the implementation outcomes of a health care manager for older or dependent persons 130 hours training course, Office of Academic Service, Khon Kaen University in context, basic factors, process and output. The research methodology employed a mixed-method approach, combining quantitative research using questionnaires for data collection and qualitative research using in-depth interviews. The research tools were 1) a questionnaire for following-up and evaluating program outcomes, and 2) a semi-structured interview guide. Data analysis involved statistical methods such as percentages, means, standard deviations, and 95% confidence intervals with a statistical significance level of &lt;0.05. Qualitative data analysis was conducted using content analysis and conclude as follows:</p> <ol> <li>Results of training evaluation follow-up found that the training was highly appropriate. The course duration for operators caring for the elderly and vulnerable individuals was 130 hours. The course content aligned with the participants' needs and complied with the Ministry of Public Health regulations for service providers. The training was conducted by knowledgeable and experienced instructors. Participants gained knowledge, understanding, skills, and competencies that they could apply in real-life situations.</li> <li>Evaluation results for training procedures indicate that the training process was highly satisfactory. Conducting online training sessions via Zoom Meetings was convenient for participants who had busy schedules and could not travel to different provinces for training. The training materials, including documents and video clips, were easy to understand. The online knowledge management system, including documents and video clips, was beneficial for accessibility. Participants were highly satisfied with the training, especially with the service provided by the staff.</li> <li>Productivity evaluation results showed high levels of achievement. Participants gained knowledge, understanding, skills, and competencies from the training, leading to significant improvements in their professional knowledge and competencies. Particularly, techniques in elderly care and health promotion led to advancements and increased returns on professional practice. The training enabled participants to develop work processes, network with colleagues in the same field, and establish connections with healthcare service providers. This collaborative effort raised standards in healthcare services, positively impacting the quality of life for the elderly and vulnerable individuals in the future.</li> </ol> <p> </p> <p>Keywords: Health care manager for older or dependent persons, Follow-up and evaluate healthcare service business</p> ลลดา สินธุพันธ์ ภัคณัฐ วีรขจร เดือนเพ็ญดาว ชิวพิมาย ณัฐพล หีบแก้ว กรรษา พลเยี่ยม ภานุพงศ์ ริ้วพงษ์กุล พิสิษฐ์ วงษ์ไชยศิริ อิศราพงศ์ ฟักตั้ง กนกวรรณ รัตน์สุวรรณ Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง 2024-06-30 2024-06-30 32 1 81 93 สำนักบริการวิชาการกับบริบทการบริการสังคมร่วมกับธนาคารออมสิน การเสริมสร้างและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น "ออมสินยุวพัฒน์รักษ์" ประจำปี 2563 https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/262278 <p>Strengthening and developing local wisdom or GSB Yuwaphat Rak Tin is integrated local wisdom, modern science of educational and local wisdom resources. For the enhancing marketing capability and human resource capabilities provided of A group of people who create products or services to have potential and have added value. To be able to increase the quality of products or services to respond to market demands. Which enhances career stability and income, financial discipline have the potential to access funding sources achieve sustainable results. At the same time, co-operators include students from educational institutions learned, understood, accessed way of life, identity, identity and local wisdom, realizing the importance of Thai wisdom and valuable resources. In order to help each other maintain and remain with Thai society in the future. There are 7 groups of community organizations participating namely 1) Ban Pa Lueam mat weaving group Tambol Don Chang, Amphur Muang Khon kaen, Khon Kaen. 2) Sila Homestay Group Tambol Sila, Amphur Muang Khon kaen, Khon Kaen. 3) Krasermsuk Guava Group Tambol Ta Kraserm, Amphur Nam Phong, Khon Kaen. 4) Wang Mon Homestay Group Tambol Wang Sa Wap, Amphur Phu Pha Man, Khon Kaen. 5) Fish product group Tambol Ban Kong, Amphur Nong Ruea, Khon Kaen. 6) Thai clay Flower sculpture Group Tambol Ban Kong, Amphur Nong Ruea, Khon Kaen. 7) Muang Phia community product distribution group Tambol Muang Phia, Amphur Ban Phai, Khon Kaen. Focus on differentiation and diversity of products in the community. Adding value to community products. Expanding into new products, product symbol design expanding into new products and logo design that is unique to the community. Promote comprehensive accounting and production cost calculations. Develop community tourist attractions to be known. Increase product distribution channels and publicize products in the community to meet the goals.</p> เอื้องฟ้า วรรณสิทธิ์ เสาวลักษณ์ ราชำ ชนะชัย ฤทธิ์ทรงเมือง Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง 2024-06-30 2024-06-30 32 1 94 107 การพัฒนาการเสริมแรงจูงใจเพื่อการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ในเด็กปฐมวัย https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/262048 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p> บทความทางวิชาการนี้้มีวัตถุุประสงค์เพื่่อการพัฒนาการเสริมแรงจูงใจเพื่อการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในเด็กปฐมวัย โดยมีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาการเสริมแรงจูงใจเพื่อการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในเด็กปฐมวัย และ ๒) เพื่อพัฒนาการเสริมแรงจูงใจเพื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในเด็กปฐมวัย เนื่องจากกระบวนการเรียนการสอนของทุกสาระวิชา แรงจูงใจเป็นสิ่งสำคัญมากที่จะทำให้นักเรียนประสบผลสำเร็จจากการเรียน ความรู้ความเข้าใจ ทักษะประสบการณ์จากการเรียน จะตกผลึกฝังแน่น แต่ความซับซ้อน ความยากง่ายของสาระรายวิชาจะเป็นอุปสรรคต่อการเรียนความสนใจจะค่อยๆลดลง แม้นักเรียนที่มีความสามารถสูงแต่ขาดแรงจูงใจในการเรียนก็จะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ดังนั้นจึงต้องมีการเสริมแรงจูงใจในสาขาวิชาการต่างๆ แตกต่างกันไป อันเป็นหน้าที่ของครูผู้สอนที่จะต้องศึกษาหาเทคนิคใหม่ๆมาเสริมแรงจูงใจเพื่อประสิทธิภาพของระบบการศึกษาให้เป็นที่สนใจของนักเรียนยิ่งๆขึ้น</p> <p>ABSTRACT</p> <p> This academic article aims to develop motivation for teaching English in early childhood. The objectives are 1) to study the enhancement of motivation for teaching English in early childhood and 2) to develop the enhancement of motivation for teaching English in early childhood. Because of the teaching process of every subject Motivation is very important for students to succeed in their studies, cognition skills and experiences from studying will crystallize and be firmly embedded, but the complexity and difficulty of the course content will be an obstacle to learning. Interest will gradually decrease, even students with high abilities who lack motivation to study will have low academic achievement. Therefore, motivation must be strengthened in different academic fields. It is the duty of teachers to study and find new techniques to enhance motivation in order to make the efficiency of the educational system more interesting to students.</p> <p><strong>KEYWORDS</strong> : Motivation enhancement; Development.</p> Thanetpol Charoenraj Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง 2024-06-30 2024-06-30 32 1 1 16 การกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังในคดียาเสพติดภายในเรือนจำจังหวัดเลย https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/262052 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังชายในคดียาเสพติดภายในเรือนจำจังหวัดเลย เพื่อเปรียบเทียบการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังในคดียาเสพติดภายในเรือนจำจังหวัดเลย ที่มีลักษณะส่วนบุคคล และพฤติกรรมของผู้ที่กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดแตกต่างกัน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือน และเพื่อเสนอแนวทาง มาตรการหรือนโยบายในการพัฒนาและฝึกวิชาชีพผู้ต้องขังที่ได้จากการวิจัยไปใช้ในองค์กรเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดให้มีความเหมาะสมแก่โทษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือจำนวนผู้ต้องขังเด็ดขาดในคดียาเสพติด เรือนจำจังหวัดเลยจังหวัดเลย โดยใช้สูตรของ Taro Yamane (Yamane. 1973) ได้จำนวน 305 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามประกอบไปด้วยเนื้อหา 3 ส่วน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือสถิติพรรณนาได้แก่ จำนวนร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสำหรับข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง สถิติเชิงอนุมานได้แก่ T-test และ F-test สำหรับเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังในคดียาเสพติดภายในเรือนจำจังหวัดเลย ที่มีลักษณะส่วนบุคคล และพฤติกรรมของผู้ที่กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดแตกต่างกัน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า การกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังในคดียาเสพติดภายในเรือนจำจังหวัดเลย ในภาพรวมพบว่าด้านการยอมรับทางสังคมและชุมชน มีผลต่อการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังในคดียาเสพติดภายในเรือนจำจังหวัดเลย อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 3.62 , S.D. = 2.87) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่ (x̄ = 3.76 , S.D. = 0.99 ) ให้ความเห็นว่าการได้ร่วมกิจกรรมของผู้พ้นโทษกับครอบครัวช่วยป้องกันการกระทำผิดซ้ำได้ มีจำนวนมากที่สุด การกระทำความผิดซ้ำของผู้ต้องขังรองลงมา คือ ด้านการประกอบอาชีพ (x̄ = 3.18 , S.D. = 2.41) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่ (x̄ = 3.58 , S.D. = 1.00 ) ให้ความเห็นว่าการดำรงชีวิตในสังคมของท่านมีความจำเป็นเป็นอย่างมากมีจำนวนมากที่สุด ปัจจัยที่มีผลต่อการกระทำความผิดซ้ำของผู้ต้องขังน้อยที่สุด คือด้านความสัมพันธ์ในครอบครัว (x̄ = 1.82 , S.D. = 0.22) ผลการเปรียบเทียบจากการเปรียบเทียบการกระทำผิดซ้ำในคดียาเสพติดของผู้ต้องขังภายในเรือนจำจังหวัดเลย ที่มีคุณลักษณะส่วนบุคคลแตกต่างกัน โดยภาพรวมผู้ต้องขังในเรือนจำจังหวัดเลย ที่มีเพศต่างกัน มีกระทำผิดซ้ำไม่แตกต่างกัน ส่วนผู้ต้องขังในเรือนจำจังหวัดเลย ที่มีอายุ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน มีการกระทำผิดซ้ำไม่แตกต่างกัน ส่วนข้อเสนอแนะแนวทางมาตรการหรือนโยบายในการพัฒนาและฝึกวิชาชีพผู้ต้องขัง และเป็นข้อเสนอแนะต่อกรมราชทัณฑ์สรุปได้ดังนี้ ด้านสัมพันธ์ในครอบครัว ควรจัดให้ผู้ต้องขังได้เยี่ยมญาติใกล้ชิดกับครอบครัว และเพิ่มช่องทางการเยี่ยมญาติเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันภายในครอบครัวให้มากขึ้น ด้านเศรษฐกิจ ควรจัดอบรมฝึกวิชาชีพที่สอดคล้องกับตลาดแรงงานร่วมกับหน่วยงานภายนอก มีกองทุนกู้ยืมเพื่อใช้เป็นทุนในการประกอบกิจการที่ก่อให้เกิดรายได้เป็นของผู้ต้องขังที่พ้นโทษออกไป ส่งเสริมอาชีพและการทำงานให้กับผู้ต้องขังภายในเรือนจำให้มีความหลากหลาย ด้านการยอมรับทางสังคมและชุมชน ควรจัดสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อเป็นการเผยแพร่ภารกิจในการพัฒนาพฤตินิสัยและบทบาทของสังคมในการรับช่วงต่อในการคืนคนดีสู่สังคม ควรจัดให้คำปรึกษาและดูแลผู้ต้องขังอย่างใกล้ชิดในระหว่างที่ถูกคุมขังภายในเรือนจำ และผู้ต้องขังได้รับการปล่อยตัวระยะแรก ด้านการลงโทษ กฎหมาย ควรปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวกับยาเสพติด และมีกระบวนการหรือมาตรการรักษาสำหรับบำบัดผู้เสพยาเสพติดให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ด้านการประกอบอาชีพควรจัดหาตำแหน่งงานว่างของสถานประกอบการที่เป็นการร่วมมือระหว่างภาคเอกชนกับเรือนจำ&nbsp; ทัณฑสถาน และกรมราชทัณฑ์ไว้รองรับผู้พ้นโทษ และด้านด้านการกระทำความผิดครั้งก่อนควรให้คำแนะนำในการไม่รับสิ่งของที่ไม่ทราบที่มา และสิ่งของที่ไม่สามารถมองเห็นจากบุคคลที่ไม่รู้จักให้คำแนะนำแก่ผู้พ้นโทษไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกลุ่มคน หรือบุคคลที่มีพฤติกรรมที่ไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด เพื่อจะได้ไม่ไปมีส่วนเกี่ยวข้องเมื่อถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย</p> <p><br><strong>คำสำคัญ: </strong>การกระทำผิดซ้ำ; ผู้ต้องขัง; คดียาเสพติด; เรือนจำจังหวัดเลย</p> <p><strong>&nbsp;</strong></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The objective of this research was to study the recidivism of drug offenders in Loei Provincial Prison. To compare the recidivism of drug offenders within the Provincial Prison with different personal characteristics and behaviors of drug offenders. classified by gender, age, education level and monthly income, and to propose guidelines. Measures or policies to develop and train prisoners obtained from research to be used in the organization as a guideline to revise drug laws to be appropriate for punishment. The sample used in the research was the number of inmates convicted of drug offenses. Loei Prefectural Prison using the formula of Taro Yamane (Yamane. 1973) for 305 people. The data collection tool consists of three parts: the statistics used to analyze the data, namely the descriptive statistics: percentage, average, and standard deviation for general data of the sample. Inferential statistics include T-test and F-test for comparing factors affecting recidivism of drug offenders within Loei Provincial Prison with different personal characteristics and behaviors of drug offenders. Classified by gender, age, education level and monthly income.</p> <p>The results of the research showed that repeat offenders of drug offenders in Loei Provincial Prison. Overall, social and community acceptance It affects the recidivism of drug offenders within the Provincial Prison. On a case-by-case basis, the majority of the population (x̄ = 3.76 , S.D. = 0.99 ) commented that participating in the activities of the acquitted and their families helped prevent recidivism. Largest number The second most common recidivism of prisoners was occupational (x̄ = 3.18, S.D. = 2.41). On a case-by-case basis, it was found that the majority of the population (x̄ = 3.58 , S.D. = 1.00 ) commented that your social life is very necessary. The least contributing factor to recidivism among inmates was family relations (x̄ = 1.82 , S.D. = 0.22). There is no difference in repeat offenders. Inmates in Loei Provincial Prison differ in age, level of education and average monthly income. There is no difference in repeat offenses. The recommendations on measures or policies for the development and vocational training of inmates and recommendations to the Department of Corrections are summarized as follows: Family relations should be provided. Inmates visit relatives close to their families and increase channels to visit relatives to foster better relationships within the family. On the economic side, vocational training in line with the labor market should be organized in collaboration with external agencies. There is a loan fund to finance business operations that generate income for prisoners who have been released from prison. Promote career and work diversity for prison inmates In terms of social and community acceptance, public relations media should be organized to disseminate the mission of developing behavior and the role of society in taking over the reintegration of good people into society. And the inmate was released in the first phase of his punishment. Laws relating to drugs should be revised and procedures or measures for treating drug users should be more effective. On the occupational side, vacancies should be provided by establishments that are collaborations between the private sector and prisons. Correctional institutions and the Department of Corrections should advise against accepting items of unknown origin and items that cannot be seen from unknown persons. Advise the acquitted not to interfere with groups of people or persons whose behavior is related to drugs so that they do not get involved when they are prosecuted under the law.</p> <p><strong>&nbsp;</strong></p> <p><strong>Keywords:</strong> Recidivism; Offenders; Drug; Loei Provincial Prison</p> สุริยา จำปาศิริ Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง 2024-06-30 2024-06-30 32 1 17 40 การพัฒนาการเรียนรู้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษจากแผนการสอน https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/263417 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p><strong> </strong>งานวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนของการเรียนรู้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ด้วยวิธีการสอนโดยใช้เกมเป็นฐาน สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ด้วยเกมเป็นฐานเรื่อง Past tense กลุ่มตัวอย่างจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ประกอบด้วยนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 135 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน จำนวน 4 แผน แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบตัวเลือก (Multiple choice) จำนวน 20 ข้อ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ใช้การทดสอบค่า t แบบ 2 กลุ่ม ไม่อิสระกัน ( t-test Dependent Samples form) ผลการวิจัยพบว่า แผนการจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 86.13/89.9 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 75/75 คะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบก่อนเรียน ความพึงพอใจที่มีต่อการพัฒนาการเรียนรู้ โดยเฉลี่ย มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด (Satisfied)</p> <p><strong>คำสำคัญ </strong><strong>: </strong>การพัฒนาการเรียนรู้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ<strong> ; </strong>แผนการสอนจากเกม<strong>.</strong></p> <p><strong>ABSTRACT</strong></p> <p> This research aims to compare results Pre- post study achievement in learning English grammar, with a game-based teaching method For first year students, Sakon Nakhon Rajabhat University,with a game based on Past tense. The sample from Purposive Sampling consisted of first year students, Sakon Nakhon Rajabhat University. Semester 2, Academic Year 2023, totaling 135 peoples. The tools used to collect data are 4 game-based learning management plans, pre-class and post-class tests it is a multiple choice test with 20 questions, a 5-level rating scale, using a t-test for 2 groups, not independent (t-test Dependent Samples form). The results of the research found that The learning management plan is effective according to the criteria of 86.13/89.9, which is higher than the criteria of 75/75, the average score from the English test after studying. Higher than the average score from the pre-test. Satisfaction with learning development, on average, was at the highest level of satisfaction (Satisfied).</p> <p><strong>Keywords</strong> : <strong> </strong>Development English Grammar Learning ; Games Lesson Plans.</p> ธเนศพล เจริญราษฎร์ Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง 2024-06-30 2024-06-30 32 1 41 57 Transfer optimizing use of nutrients for increasing cassava yield and economic return to smallholder farmers in Northeastern Thailand https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/261860 <p>To obtain high yield and sustainable yields, the crop should be well - managed, especially application of nutrients for the requirement in adequate amount. Objectives of Transferring this technology was to recommended optimizing use of nutrients based on soil testing to increase cassava yield and net income of smallholder farmers. The study site was carried out at Khaophranon sub-district, Yangtald district, Kalasin province, Northeastern Thailand. Ten farmers were selected to participate in testing. Results found that farmers (90%) applied N inadequate amount ranges 6-88 kg/ha. For K, farmers (90%) applied inadequate amount ranges 50-94 kg/ha. For P, farmers (50%) applied lower than adequate amounts ragnes13-19 kg/ha, compared to recommendation based on soil testing. The optimizing use of N, P and K increased tuber yield by 4-21 t/ha and net income by 431-2250 USD/ha, in comparison with farmers traditional practices.</p> รศ.ดร.สุภาภรณ์ พวงชมภู Kiatchai Montreewong Anan Polthanee Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง 2024-06-30 2024-06-30 32 1 58 66 Participation of Teachers in the Administration of Educational Institution Administrators.Under the Taling Chan District Office Bangkok https://li01.tci-thaijo.org/index.php/oasjournal/article/view/262764 <p>The objectives of this research are to ( 1) study teachers' participation in the administration of educational institution administrators. Under the Taling Chan District Office Bangkok and ( 2 ) compare teachers' participation in the administration of educational institution administrators. Under the Taling Chan District Office Bangkok Classified by educational level and work experience</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; This research is a survey research. The population is teachers in schools under the Taling Chan District Office. Bangkok Academic year 2023, number of 290 people, sample using a stratified random sampling method. There are 165 people. The research method has 4 steps: (1) studying the research problem, (2) research design, (3) collecting and analyzing data, and (4) writing a research report. The instrument used for data collection was a questionnaire with a 5-level rating scale. Statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean, and standard deviation. and test the hypothesis by t-test.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results of the research found that ( 1 ) participation of teachers in the administration of educational institution administrators Under the Taling Chan District Office Bangkok Overall it is at a high level and (2) comparative results of teachers' participation in the administration of school administrators. Under the Taling Chan District Office Bangkok found that teachers with different educational levels The participation of teachers in the management of school administrators is assessed. Under the Taling Chan District Office Bangkok in all 4 areas in terms of participation in operations In terms of participation, responsibility, and sharing in benefits and aspects of participation in evaluation are different In terms of participation in decision making no difference Statistically significant at the .05 level and teachers with different working experiences. Teachers ' participation in the administration of educational institution administrators was assessed. Under the Taling Chan District Office Bangkok in all 4 areas in terms of participation in decision-making Participation aspects In terms of participation, responsibility, sharing in benefits, and participation in the evaluation were not different. Statistically significant at the .05 level.</p> Sureeporn Thammajai ์Ntapat Worapongpat Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง 2024-06-30 2024-06-30 32 1 67 80