@article{จันทะบุตร_แก่นจันทร_สวัสดี_อิ่มใจ_โทวรรณา_2021, title={ความหนาแน่นที่เหมาะสมของการเลี้ยงปลานิลในระบบน้้าหมุนเวียนแบบอควาโปนิกส์}, volume={14}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/pajrmu/article/view/248810}, DOI={10.14456/paj.2017.11}, abstractNote={<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความหนาแน่นที่เหมาะสมของการเลี้ยงปลานิลในระบบน้้าหมุนเวียนแบบ อควาโปนิกส์ซึ่งเป็นการเลี้ยงปลานิลร่วมกับการปลูกผักเรดโอ๊ค ในบ่อซีเมนต์ขนาด 0.5 ตารางเมตร แบ่งการทดลองออกเป็น 3 ชุด ชุดการทดลองละ 3 ซ้้า โดยเลี้ยงปลานิลที่ระดับความหนาแน่น 150, 250 และ 300 ตัวต่อตารางเมตร เพื่อศึกษาอัตราความหนาแน่นที่เหมาะสม และอัตราการเจริญเติบโต ใช้ปลานิลน้้าหนักเฉลี่ยเริ่มต้น 7.13, 8.00 และ 7.67 กรัม และความยาวเฉลี่ยเริ่มต้น 8.27, 7.29 และ 6.68 เซนติเมตร ใช้ระยะเวลาเลี้ยง 120 วัน ผลการศึกษา พบว่า น้้าหนักเมื่อสิ้นสุดการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 27.82, 43.32 และ 39.90 กรัม ตามล้าดับ ความยาวเมื่อสิ้นสุดการทดลอง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 14.58, 18.25 และ 13.10 เซนติเมตร ตามลำดับ อัตราการรอดตายมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 92.44, 97.00 และ 97.33 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ส่วนน้้าหนักเพิ่มต่อวัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 27.89, 23.17 และ 27.93 กรัมต่อวัน อัตราการแลกเนื้อมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 0.07, 0.19 และ 0.09 ตามลำดับ อัตราการเจริญเติบโตจ้าเพาะมีค่าเฉลี่ย 23.18, 36.10 และ 33.25 เปอร์เซ็นต์ต่อวัน ตามล้าดับ และพบว่า มีความแตกต่างกันทางสถิติส่วนคุณภาพน้้า อุณหภูมิ ฟอสเฟส และไนเตรท ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ส่วนค่าความเป็นกรด-ด่าง มีความแตกต่างกันทางสถิติ<br>มีค่าอยู่ระหว่าง 7.36-7.51 ดังนั้นการเลี้ยงปลานิลในระบบน้้าหมุนเวียนแบบอควาโปนิกส์เป็นแนวทางส่งเสริมเสริมอาชีพเลี้ยงปลานิลแก่เกษตรกรแบบเชิงพาณิชย์ต่อไป</p>}, number={2}, journal={วารสารเกษตรพระวรุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม}, author={จันทะบุตร เหล็กไหล and แก่นจันทร จุฑารัตน์ and สวัสดี บัณฑิตา and อิ่มใจ พุทธชาติ and โทวรรณา ชนวรรณ}, year={2021}, month={ม.ค.}, pages={225–230} }