@article{ภูวพัฒน์_ยูโซ๊ะ_เมฆารัฐ_2015, title={การศึกษาอายุที่เหมาะสมของต้นอ่อนทานตะวันต่อความสามารถในการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ}, volume={8}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/pnujr/article/view/52660}, abstractNote={<p>การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาอายุที่เหมาะสมของต้นอ่อนทานตะวันต่อความสามารถในการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ โดยศึกษาจากสารสกัดของใบและลำตันอ่อนทานตะวันอายุ 1 และ 2 สัปดาห์ จากนั้นจึงตรวจสอบด้วยเทคนิค GC-MS ผลการศึกษาพบสาร 2-propanone,1- hydroxyl, acetic acid และสาร phenol,2,6- dimethoxy-4- (2-propanyl) ทั้งจากส่วนใบและลำต้นของต้นอ่อนทานตะวันอายุ 1 และ 2 สัปดาห์acetolและ glycerol เป็นสารที่พบในปริมาณสูงจากส่วนใบและลำต้นอายุ 1 สัปดาห์ ในขณะที่ 2-propanone,1-hydroxy และ glycerol พบในปริมาณสูงจากส่วนใบและลำต้นอายุ 2 สัปดาห์ ต้นอ่อนทานตะวันที่มีอายุต่างกันในส่วนใบและลำต้นมีความสามารถในการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่แตกต่างกัน</p> <strong>คำสำคัญ</strong>: <strong>ต้นอ่อนทานตะวัน</strong>, ทานตะวัน, <strong>สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ</strong>}, number={1}, journal={Princess of Naradhiwas University Journal}, author={ภูวพัฒน์ รักชนก and ยูโซ๊ะ มูฮัมมัดบาคอรี and เมฆารัฐ โซเฟีย}, year={2015}, month={Dec.} }