@article{พวงจิก_ไมตรีมิตร_หาระโคตร_2017, place={Pathumthani, Thailand}, title={อิทธิพลของปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตของไผ่มันหมู}, volume={7}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tjst/article/view/106140}, DOI={10.14456/tjst.2018.29}, abstractNote={<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>ศึกษาผลของปุ๋ยเคมีต่ออัตราการเจริญเติบโตของไผ่มันหมู [<em>Dendrocalamus copelandii</em> (Gamble ex Brandis)] ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนกุมภาพันธุ์ พ.ศ. 2560 โดยเปรียบเทียบระหว่างไม่ใส่ปุ๋ยเคมี ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 ปริมาณ 5, 10 และ15 กรัม/กระถาง/ครั้ง และใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-16 ปริมาณ 5, 10 และ15 กรัม/กระถาง/ครั้ง วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) จำนวน 4 ซ้ำ ซ้ำละ 3 กระถาง บันทึกจำนวนหน่อเกิดใหม่ ความสูง และเส้นผ่านศูนย์กลาง เมื่อสิ้นสุดการทดลองนำไปวิเคราะห์ปริมาณมวลชีวภาพเหนือดิน ผลการศึกษาพบว่าเส้นผ่านศูนย์กลางในแต่ละสูตรปุ๋ยไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ การใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-16 ปริมาณ 15 กรัม/กระถาง/ครั้ง ส่งผลให้ไผ่มันหมูมีจำนวนหน่อเกิดใหม่มากที่สุด คือ 4.83 หน่อ/กระถาง การใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-16 ส่งผลให้ไผ่มันหมูมีการเพิ่มความสูงมากที่สุด สามารถเพิ่มความสูงให้ไผ่มันหมูได้ 40.74, 31.73, 30.74 เซนติเมตร/เดือน และการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 ปริมาณ 15 กรัม/กระถาง/ครั้ง และการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-16 ส่งผลให้ไผ่มันหมูมีปริมาณมวลชีวภาพเหนือดินของใบและลำต้นสูงที่สุด ดังนั้นการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-16 ปริมาณ 15 กรัม/กระถาง/ครั้ง มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของไผ่มันหมูที่อายุไม่เกิน 2 ปี </p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong> :</strong> ไผ่มันหมู; ปุ๋ยเคมี; การเจริญเติบโต</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>Study on the effects of formula and rates of chemical fertilizer on growth of bamboo <em>(Dendrocalamus sericeus)</em> was conducted at the Department of Agricultural Technology, Faculty of Science and Technology, Thammasat University, Pathum Thani province during October, 2016 to March, 2017. The trial was arranged in a completely randomized design (CRD) with 4 replications, 2 pots in each replication. 7 Treatments included no fertilizer applying (control), and applying with 46-0-0 fertilizer or 16-16-16 fertilizer at the rates of 10, 15 and 20 g/pot/time. The results indicated that the 46-0-0 fertilizer applying at 15 g/pot/time gave the highest bamboo biomass. The application of 46-0-0 fertilizer at 20 g/pot/time exhibited the highest number of new culm. The application of 16-16-16 fertilizer at 15 g/pot/time gave the highest of bamboo culm height. Therefore, the most appropriate application for a growth of the bamboo was shown to be combined of 46-0-0 and 16-16-16 fertilizers. </p> <p><strong>Keywords:</strong> Pai Mun Moo; chemical fertilizer; growth of bamboo</p>}, number={2}, journal={Thai Journal of Science and Technology}, author={พวงจิก ธัญพิสิษฐ์ and ไมตรีมิตร พิชชาทร and หาระโคตร พรชัย}, year={2017}, month={Dec.}, pages={123–133} }