@article{จิรขจรกุล_แกล้ววิการณ์_อ่วมกระทุ่ม_2013, place={Pathumthani, Thailand}, title={เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินถล่มในเขตอำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย}, volume={1}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tjst/article/view/12896}, DOI={10.14456/tjst.2012.24}, abstractNote={<p><span lang="TH">บทคัดย่อ</span></p> <p><span lang="TH">เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินถล่มในเขตอำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดแผ่นดินถล่ม และเพื่อประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดแผ่นดินถล่มในพื้นที่อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดแผ่นดินถล่มที่เหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์ร่วมกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำนวน 9 ปัจจัย ได้แก่ ปริมาณน้ำฝนสูงสุดรายวัน ความลาดชัน ระดับความสูงของพื้นที่ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ดัชนีพืชพรรณ (</span>NDVI) <span lang="TH">ระยะห่างจากรอยเลื่อน ระยะจากแม่น้ำ การระบายน้ำของดิน และลักษณะหิน และการวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงภัยด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ประมวลผลร่วมกับการให้ค่าน้ำหนักและค่าคะแนนโดยใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (</span>analysis hierarchy process, AHP) <span lang="TH">ผลการศึกษาพบว่าพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่มส่วนใหญ่อยู่เขตลุ่มน้ำ อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ในระดับความเสี่ยงสูง 107.18 ตารางกิโลเมตร (47.04 %) พื้นที่มีความเสี่ยงระดับปานกลาง 98.26 ตารางกิโลเมตร (43.13 %) พื้นที่ส่วนใหญ่ของตำบลหนองงิ้ว เป็นที่เสี่ยงภัยดินถล่มระดับสูง 60.40 ตารางกิโลเมตร และเป็นที่เสี่ยงภัยดินถล่มระดับปานกลาง 46.13 ตารางกิโลเมตร จำแนกความเสี่ยงในระดับหมู่บ้านที่เสี่ยงภัยจากดินถล่มทั้งสิ้น 48 หมู่บ้าน ระดับความเสี่ยงภัยสูงจากดินถล่ม จำนวน 8 หมู่บ้าน อยู่ในอำเภอภูเรือ 5 หมู่บ้าน และอยู่ในอำเภอวังสะพุงอีก 3 หมู่บ้าน</span></p> <p><span lang="TH">คำสำคัญ</span> :<span lang="TH"> เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ</span>; <span lang="TH">ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์</span>; <span lang="TH">พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม</span>;<span lang="TH"> ดัชนีพืชพรรณ</span>;<span lang="TH"> กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์</span></p> <p> </p> <p>Abstract</p> <p>Geo-informatics for landslide risk zone assessment in Wang Sa Pung Amphoe, Loei Province have investigated the influencing factors for landslide occurrence, and apply geo-informatics for landslide risk identification, in Wang Sa Pung Amphoe, Loei Province. The 9 influencing factors for landslide occurrence, suitable for analysis with geographic information systems (GIS), are maximum daily rainfall, slope, elevation, land use, NDVI, distance from the fault, distance from the river, soil drainage and the rock type. Integration of GIS with analysis hierarchy process (AHP), the areas prone to landslides in the study area can be classified to landslide high-risk areas of 107.18 square kilometers (47.04 %), landslide moderate-risk areas as the area of 98.26 square kilometers (43.13 %). The area of 60.40 square kilometers of Nong Ngui tambon, can be identified to high risk of landslide area and 46.13 sq.km. are moderate risk of landslide area. The 48 villages classify to the risk of landslide area. Found that 8 villages area high risk of landslide, 5 villages locate in Phu Rua Amphoe and 3 villages locate in Wang Sa Pung Amphoe.</p> <p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: left; text-justify: inter-cluster;">Keywords: geo-Informatics; geographic information systems; landslide hazard zone; normalized difference vegetation index; analysis hierarchy process</p><span style="font-family: Times New Roman; font-size: small;"> </span>}, number={3}, journal={Thai Journal of Science and Technology}, author={จิรขจรกุล สุเพชร and แกล้ววิการณ์ พีระวัฒน์ and อ่วมกระทุ่ม สุนันต์}, year={2013}, month={Oct.}, pages={197–210} }