@article{ภูมิพันธ์_2013, place={Pathumthani, Thailand}, title={ผลของฟอสฟอรัสในดินและชนิดของข้าวโพดต่อการพึ่งพาราอาร์บัสคูล่าร์ไมคอร์ไรซา}, volume={1}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tjst/article/view/12897}, DOI={10.14456/tjst.2012.21}, abstractNote={<p style="text-align: left;"><span lang="TH">บทคัดย่อ</span></p> <p style="text-align: left;"><span lang="TH">การศึกษาผลของฟอสฟอรัสในดินและชนิดของข้าวโพดต่อการพึ่งพาราอาร์บัสคูล่าร์ไมคอร์ไรซา มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลต่อการพึ่งพาต่อราอาร์บัสคูล่าร์ไมคอร์ไรซาในการส่งเสริมการเจริญเติบโตและการดูดซับฟอสฟอรัสของข้าวโพด โดยวางแผนการทดลองแบบ </span>factorial in CRD <span lang="TH">จำนวน </span>4 <span lang="TH">ซ้ำ ประกอบด้วย </span>2 <span lang="TH">ปัจจัย คือ </span>(1) <span lang="TH">ดินที่มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ เรียงลำดับจากต่ำไปสูง ได้แก่ ชุดดินมาบบอน ปากช่อง และลพบุรี และ </span>(2) <span lang="TH">ชนิดของข้าวโพด ได้แก่ ข้าวโพดฝักอ่อน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และข้าวโพดหวาน จัดชุดการทดลอง </span>2 <span lang="TH">ชุด ตามแผนการทดลอง เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและการดูดซับฟอสฟอรัสระหว่างการใส่และไม่ใส่หัวเชื้อรา และใช้ค่าดังกล่าวในการคำนวณการพึ่งพาต่อราของข้าวโพด พบว่าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และข้าวโพดหวานที่ปลูกในชุดดินมาบบอนและปากช่องมีการพึ่งพาต่อราทั้งด้านการเจริญเติบโตและการดูดซับฟอสฟอรัสมากกว่าข้าวโพดฝักอ่อน ในขณะที่ การพึ่งพาต่อราของข้าวโพดฝักอ่อน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และข้าวโพดหวานที่ปลูกในชุดดินลพบุรีไม่มีความแตกต่างกัน และข้าวโพดที่ปลูกในชุดดินปากช่องมีการพึ่งพาต่อรามากที่สุด รองลงมาคือชุดดินมาบบอน และน้อยที่สุดคือชุดดินลพบุรี ดังนั้นผลการทดลองนี้จึงชี้ให้เห็นว่าการพึ่งพาต่อราของข้าวโพดขึ้นอยู่กับปริมาณฟอสฟอรัสในดินและชนิดของข้าวโพด</span></p> <p style="text-align: left;"><span lang="TH">คำสำคัญ</span> :<span lang="TH"> </span><span lang="TH">การพึ่งพาต่อราอาร์บัสคูล่าร์ไมคอร์ไรซา</span>;<span lang="TH"> ข้าวโพดฝักอ่อน</span>;<span lang="TH"> ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์</span>;<span lang="TH"> ข้าวโพดหวาน ฟอสฟอรัสในดิน</span></p> <p style="text-align: left;"> </p> <p style="text-align: left;">Abstract</p> <p style="text-align: left;">Effects of soil phosphorus (P) and types of corn on arbuscular corrhizal (AM) dependency were to evaluate their effects on the AM ependency of growth and P uptake of corns. Pot experiment was undertaken in factorial in CRD with 4 replications. Nine treatments were an teraction between 3 soil P and 3 corn types. Soils with different available P ranging from low to high were Mab Bon (MB), Pak Chong (PC) and Lop Buri (LB) soil series, respectively. Corn types were baby corn, field corn and sweet corn. There were 2 pot experiments which had applied AM inoculum and no inoculum, for calculating AM dependency. The results found that field corn and sweet corn grown in MB and PC soil were higher in the AM dependency on growth and P uptake than baby corn. Whereas, there was no difference in the AM dependency of 3 corn types in LB soil. The highest, intermediate and lowest AM dependency were observed on corns grown in PC, MB and LB soil, respectively. Therefore, the results indicated that the AM dependency of corn had depended on soil P and types of corn.</p> <p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: left; text-justify: inter-cluster;">Keywords: baby corn; dependency of arbuscular mycorrhizal fungi; field corn; soil phosphorus; sweet corn</p><span style="font-family: Times New Roman; font-size: small;"> </span>}, number={3}, journal={Thai Journal of Science and Technology}, author={ภูมิพันธ์ พักตร์เพ็ญ}, year={2013}, month={Oct.}, pages={211–220} }