@article{มหาสารกุล_ศากยวงศ์_ณ นคร_นาคบรรพต_ประทุมชัย_2013, place={Pathumthani, Thailand}, title={อายุของผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสมุนไพรรางจืดในขวดปิดสนิท : สมบัติทางเคมีและกายภาพ และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ}, volume={2}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tjst/article/view/12911}, DOI={10.14456/tjst.2013.22}, abstractNote={<p style="text-align: left;"><span lang="TH">บทคัดย่อ</span></p> <p style="text-align: left;"><span lang="TH">รางจืด (</span><em>Thunbergia laurifolia<span lang="TH"> </span></em>Lindl.<span lang="TH">) เป็นพืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณทางยาหลากหลาย จากความนิยมเครื่องดื่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพจึงมีการนำรางจืดมาผลิตเป็นเครื่องดื่มสมุนไพร งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดของบรรจุภัณฑ์สำหรับเครื่องดื่มสมุนไพรรางจืดที่ผลิตจากการต้มใบและก้านสมุนไพรรางจืดตากแห้งด้วยวิธีการผลิตแบบพื้นบ้าน บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ในการศึกษาคือขวด </span>PET <span lang="TH">ขวด </span>PP <span lang="TH">และขวดแก้ว และศึกษาอายุของผลิตภัณฑ์ที่แช่ในตู้เย็น </span>4 ± 1 <sup>o</sup>C <span lang="TH">ผลการศึกษาพบว่าเครื่องดื่มสมุนไพรรางจืดที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์ทั้ง </span>3<span lang="TH"> ชนิด มีสมบัติไม่แตกต่างกันทั้งค่าพีเอช การดูดกลืนแสง สี กลิ่น รสชาติ ปริมาณสารฟินอลิกและสาร ฟลาโวนอยด์ทั้งหมด และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ โดยฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระมีแนวโน้มลดลงเมื่ออายุของผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น อายุของผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสมุนไพรรางจืดในระยะเวลา </span>14<span lang="TH"> วัน พบผลิตภัณฑ์ยังคงคุณภาพดี มีปริมาณจุลินทรีย์ปนเปื้อนอยู่เกณฑ์มาตรฐานเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระลดลงจากวันที่ผลิตประมาณ </span>8 % <span lang="TH">และการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าเครื่องดื่มสมุนไพรรางจืดมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระเทียบเคียงได้กับเครื่องดื่มชาเขียวซึ่งมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและสารประกอบฟลาโวนอยด์ในปริมาณที่สูงกว่า</span></p> <p style="text-align: left;"><span lang="TH">คำสำคัญ </span>:<span lang="TH"> รางจืด</span>;<span lang="TH"> ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ</span>;<span lang="TH"> อายุของผลิตภัณฑ์</span>;<span lang="TH"> บรรจุภัณฑ์</span></p> <p style="text-align: left;"> </p> <p style="text-align: left;">Abstract</p> <p style="text-align: left;"><em>Thunbergia laurifolia</em> Lindl. or Rang Jeud (in Thai) is herbal medicine containing many pharmacology activities. As the growth of herbal beverages due to consumers believes in their health promoting property, <em>T. laurifolia </em>have been used for herbal beverage. This study aims to determine the effects of packaging materials (PET, PP and glass bottles) on herbal beverage from <em>T. laurifolia</em>, which was prepared from sun dried leaves and vines with local processing, and shelf-life in refrigerator (4 ± 1 <sup>o</sup>C). The results showed that there were no significant difference in pH, light absorbing, color, test and flavor, total phenolic content (TPC), total flavonoid content (TFC), and free radical scavenging activity (FRSA) between the three bottle materials. FRSA gradually decreased related to longer storage time. The herbal beverage in the three bottle materials had shelf-life of 14 days, with stable quality and only 8 % FRSA decrease. Contamination of microorganism found in our herbal beverage was in the standard of bottled beverage. In addition, this research revealed that our herbal beverage from <em>T. laurifolia</em> was comparable with some commercial green teas in FRSA, although the green tea had a higher TPC and TFC.</p> <p class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: left; text-justify: inter-cluster;">Keywords: <em>Thunbergia laurifolia</em>; antioxidant activity; shelf-life, packaging</p><span style="font-family: Times New Roman; font-size: small;"> </span>}, number={2}, journal={Thai Journal of Science and Technology}, author={มหาสารกุล กรรณิการ์ and ศากยวงศ์ นิรมล and ณ นคร ปาริยา and นาคบรรพต วรนันต์ and ประทุมชัย รุ่งลักษมี}, year={2013}, month={Oct.}, pages={140–152} }