@article{ภูมิพันธ์_2014, place={Pathumthani, Thailand}, title={การทดแทนปุ๋ยฟอสฟอรัสโดยราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาในดินที่มีการตรึงฟอสฟอรัส}, volume={3}, url={https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tjst/article/view/21054}, DOI={10.14456/tjst.2014.7}, abstractNote={<p><strong>บทคัดย่อ</strong><strong> </strong></p> <p>การศึกษาการทดแทนปุ๋ยฟอสฟอรัสโดยราอาบัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาในดินที่มีการตรึงฟอสฟอรัส (ชุดดินปากช่อง) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพการทดแทนปุ๋ยฟอสฟอรัสของราอาบัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา <em>Glomus</em> sp. โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 ซ้ำ ประกอบด้วย 5 ตำรับการทดลอง ได้แก่ (1) 100 % ของอัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสที่ทำให้ข้าวโพดมีการเจริญเติบโตสูงที่สุด (2-4) 75, 50 และ 25 % ของอัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสที่ทำให้ข้าวโพดมีการเจริญเติบโตสูงที่สุดร่วมกับการใส่ราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา และ  (5) การใส่ราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาเพียงอย่างเดียว โดยอัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสที่ทำให้ข้าวโพดมีการเจริญ เติบโตสูงที่สุด คือ 20 กก. P<sub>2</sub>O<sub>5</sub> ต่อไร่ ปลูกข้าวโพดในชุดดินปากช่องที่กำจัดราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาตามธรรมชาติแล้ว และใส่ปุ๋ยไนโตรเจนตและสังกะสีในอัตราที่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพด ผลการทดลองพบว่าการใส่ราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาเพียงอย่างเดียว และการใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัส 75, 50 และ 25 % ของอัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสที่ทำให้ข้าวโพดมีการเจริญเติบโตสูงที่สุดร่วมกับการใส่ราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา มีผลทำให้ความสูง น้ำหนักแห้ง และปริมาณฟอสฟอรัสของข้าวโพดไม่แตกต่างทางสถิติกับการใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสอัตราที่ทำให้ข้าวโพดมีการเจริญเติบโตสูงที่สุด ดังนั้นผลการทดลองนี้จึงสรุปได้ว่าราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา<em> </em><em>Glomus</em> sp. สามารถทดแทนปุ๋ยฟอสฟอรัสในดินที่มีการตรึงฟอสฟอรัสได้ทั้งหมด</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong> :</strong> ปุ๋ยฟอสฟอรัส; ราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา; ดินที่มีการตรึงฟอสฟอรัส</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>A study of replacement of phosphorus (P) fertilizer by arbuscular mycorrhizal (AM) fungi in phosphorus fixation soil (Pak Chong soil series) was aimed to evaluate efficiency on replacement of P fertilizer of AM fungi, <em>Glomus</em> sp. An experimental design was undertaken in complete randomized design with 4 replications, including 5 treatments; (1) 100 % of P fertilizer rate that giving maximum corn growth, (2-4) 75, 50 and 25 % of P fertilizer rate that giving maximum corn growth with AM inoculation and (5) AM inoculation alone. The P fertilizer rate that giving maximum corn growth was 20 kg P<sub>2</sub>O<sub>5</sub>/rai. The corn was planted on sterilized Pak Chong soil series and nitrogen and zinc fertilizer were applied at adequate rate for maintaining an optimum corn growth. The results showed that height, dry weight and P content of corn which was applied with AM inoculation alone and 75, 50 and 25 % of P fertilizer rate with AM inoculation did not significantly differ when compared to those of corn which was applied at 100 % of P fertilizer rate. Therefore, these results were concluded that AM fungi, <em>Glomus</em> sp., can be totally replaced for P fertilizer in phosphorus fixation soil.</p> <p><strong>Keywords:</strong><em> </em>arbuscular mycorrhizal fungi; phosphorus fertilizer; phosphorus fixation soil</p>}, number={3}, journal={Thai Journal of Science and Technology}, author={ภูมิพันธ์ พักตร์เพ็ญ}, year={2014}, month={Aug.}, pages={173–181} }