TY - JOUR AU - บุญยืน, สุภกร AU - ณ นคร, ปาริยา AU - ศากยวงศ์, นิรมล PY - 2016/05/17 Y2 - 2024/03/29 TI - ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย ปริมาณฟีนอลลิคทั้งหมด และปริมาณฟลาโวนอยด์ทั้งหมดของสารสกัดพืชหางนกยูง JF - Thai Journal of Science and Technology JA - Thai J. Sci. Technol. VL - 5 IS - 1 SE - วิทยาศาสตร์ชีวภาพ DO - 10.14456/tjst.2016.9 UR - https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tjst/article/view/56873 SP - 20-28 AB - <p><strong>บทคัดย่อ</strong><strong></strong></p><p>ปัจจุบัน สมุนไพรและเครื่องเทศถูกนิยมนำมาสกัดด้วยสารประกอบอินทรีย์หรือน้ำ เพื่อใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอาหารหรือใช้ทางการแพทย์ ด้วยสมบัติของสารสกัดที่มีสารประกอบพอลีฟีนอลที่เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาการสกัดสารต้านอนุมูลอิสระจากเปลือกไม้ เนื้อไม้ และดอกของต้นหางนกยูง ตัวทำละลายที่ใช้ในการสกัด คือ เมทานอล เฮกเซน เมทิลีนคลอไรด์ และเอทิลอะซีเตท การวิเคราะห์ความสามารถในการต้านออกซิเดชันในสารสกัดถูกทดสอบโดยใช้สารละลาย 2,2-ไดฟีนิล-1-ฟีคิลไฮดราซิล-ไฮเดรต (DPPH) เป็นอนุมูลอิสระ และการวัดปริมาณสารประกอบฟีนอลทั้งหมดใช้วิธีโฟลินซิโอแคลตู ในขณะที่การวัดปริมาณสารฟลาโวนอยด์ทั้งหมดใช้วิธีของดาส์ว จากผลการวิจัยพบว่าเมทานอลและเอทิลอะซิเตท เป็นตัวทำละลายที่สามารถสกัดสารออกฤทธิ์ได้ดี โดยเฉพาะในการสกัดจากดอกหางนกยูงโดยให้ปริมาณสารที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระประสิทธิภาพสูงมากที่สุด (IC<sub>50</sub> = 39.07±0.64 ppm) รวมทั้งปริมาณฟีนอลทั้งหมด และปริมาณฟลาโวนอยด์ทั้งหมดเท่ากับ 193.565±2.855 mg GAE/g sample dry wt. และ 196.444±0.419 mg QE/g sample dry wt. ตามลำดับ และส่งผลให้มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงเช่นกัน และมากกว่าสารสกัดในส่วนอื่นของพืชหางนกยูง อีกทั้งสารสกัดจากดอกหางนกยูงด้วยตัวทำละลายเอทิลอะซิเตทสามารถยับยั้งแบคทีเรีย <em>Escherichia coli</em> และ <em>Staphylococcus aureus</em> ได้ สารสกัดจากส่วนของพืชชนิดใดที่มีปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระในปริมาณมาก โดยสารสกัดนั้นมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระและยับยั้งแบคทีเรียได้ในปริมาณมากเช่นกัน </p><p><strong>คำสำคัญ</strong><strong> :</strong> สารประกอบฟีนอลทั้งหมด; สารประกอบฟลาโวนอยด์ทั้งหมด; ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ</p><p> </p><p><strong>Abstract</strong></p><p>The antioxidant properties, total phenolic content and total flavonoid content of different extracting parts, including flowers, bark and wood of <em>Delonix regia </em>(Boj. ex Hook.) Raf., with different solvents (hexane, methanol, dichloromethane and ethyl acetate), were examined using the stable 2,2-diphenyl-1-picrylhydrazyl-hydrate (DPPH) as free radical scavenging method, the Folin-Ciocalteu method, respectively. Total flavonoid was analyzed by the Down’s method. Methanol and ethyl acetate extracts gave the strongest antioxidant capacity, with highest IC<sub>50</sub> of 39.07±0.64 ppm. Ethyl acetate extract exhibited the highest content of phenolic and flavonoid compounds especially from the flowers part. The total phenols were found as 193.565±2.855 mg GAE/g sample dry wt. and the total flavonoid were detected as 196.444±0.419 mg QE/g sample dry wt. On the basis of results obtained, ethyl acetate and methanol have a potential use as solvent to extract the active compounds. The flower part extracts exhibited the greatest amount of both phenolic and flavonoid compounds, that results the great value for antioxidant activity and have ability to inhibit bacteria <em>Escherichia coli</em> and <em>Staphylococcus aureus</em>. In general, the greater content of antioxidant compound found, the better antimicrobial activities were observed. </p><p><strong>Keywords:</strong> total phenol; total flavonoid; antioxidation activity</p> ER -