Functional Gastrointestinal Disorders in Neonate/ Toddler

Authors

  • บุศรา เจริญวัฒน์

Keywords:

functional gastrointestinal disorders, FGIDs

Abstract

ภาวะทางเดินอาหารทำหน้าที่ผิดปกติไร้โรคทางกาย (functional gastrointestinal disorders, FGIDs) คือกลุ่มอาการผิดปกติของทางเดินอาหารโดยไม่มีความผิดปกติของโครงสร้างหรือชีวเคมีในร่างกาย1, 2 อาการที่พบบ่อยในทารกและเด็กเล็กได้แก่ อาการร้องโคลิก (colic) แหวะนม (regurgitation) ท้องผูก (constipation) เป็นต้น3 แม้ว่าภาวะ FGIDs นี้จะไม่มีความผิดปกติทางกายและไม่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของทารกและเด็กเล็ก แต่ส่วนใหญ่จะทำให้เกิดความวิตกกังวลแก่ผู้ปกครองและอาจส่งผลต่อความสัมพันธ์ภายในครอบครัวได้4,5 ดังนั้นแพทย์ควรตระหนักถึงภาวะเหล่านี้รวมถึงการแยกโรคทางกายที่อาจมาด้วยอาการคล้ายกัน และส่งตรวจค้นเพิ่มเติมตามความเหมาะสม6

References

1. Benninga MA, Nurko S, Faure C, Hyman PE, St. James Roberts I, Schechter NL. Childhood Functional Gastrointestinal Disorders: Neonate/Toddler. Gastroenterology 2016; 150: 1443-55.
2. Hymas JS, Di Lorenzo C, Saps M, Shulman RJ, Statiano A, van Tburg M. Childhood Functional Gastrointestinal Disorders: child/ adolescents. Gastroenterology 2016; 150: 1456-68.
3. เพ็ญศรี โควสุวรรณ, เสกสิต โอสถากุล. Functional Gastrointestinal Disorders in infants. ใน: นภอร ภาวิจิตร, สุพร ตรีพงษ์กรุณา, เสกสิต โอสถากุล, พรเทพ ตั่นเผ่าพงษ์, เพ็ญศรี โควสุวรรณ, นิพัทธ์ สีมาขจร, บรรณาธิการ. แนวเวชปฏิบัติโรคทางเดินอาหารและตับในเด็ก ฉนับบเรียบเรียง ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์; 2558: 102-12.
4. Raiha H, Lehtonen L, Huhtala V, Saleva K, Korvenranta H. Excessively crying infant in the family: mother-infant, father-infant and mother-father interaction. Child Care Health Dev 2002; 28: 419-29.
5. Oldbury S, Adams K. The impact of infant crying on the parent-infant relationship. Community Pract 2015; 88: 29-34.
6. สุพร ตรีพงษ์กรุณา. Functional Gastrointestinal Disorders. ใน: วรนุช จงศรีสัวสดิ์, นภอร ภาวิจิตร, ณัฐพงษ์ อัครผล, ณฐรักษ์ ชัยจิตรารัชต์, นิพัทธ์ สีมาขจร, บรรณาธิการ. แนวเวชปฎิบัติโรคทางเดินอาหารและตับในเด็ก ฉบับเรียบเรียงครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: บียอนด์ เอ็นทอร์ไพรซ์; 2560: 1-22.
7. Vandenplas Y, Abkari A, Bellaiche M, Benninga M, Chouraqui JP, Cokura F, et al. Prevalence and Health Outcomes of Functional Gastrointestinal Symptoms in Infants From Birth to 12 Months of Age. J Pediatr Gastroenterol Nutr 2015; 61: 531-7.
8. Robin SG, Keller C, Zwiener R, Hyman PE, Nurko S, Saps M, et al. Prevalence of Pediatric Functional Gastrointestinal Disorders Utilizing the Rome IV Criteria. J Pediatr 2018; 195: 134-9.
9. Shamir R, St James-Roberts I, Di Lorenzo C, Burn AJ, Thapar N, Indrio F, et al. Infant crying, colic, and gastrointestinal discomfort in early childhood: a review of the evidence and most plausible mechanisms. J Pediatr Gastroenterol Nutr 2013; 57: S1-45.
10. Engel GL. The need for a new medical model: a challenge for biomedicine. Science 1997; 196: 129-36.
11. สุพร ตรีพงษ์กรุณา. ภาวะทางเดินอาหารทำหน้าที่ผิดปกติไร้โรคทางกายในเด็ก. กรุงเทพฯ:บริษัท โฮลิสติก พับลิชชิ่ง จำกัด; 2558.

Published

2018-07-29

How to Cite

1.
เจริญวัฒน์ บ. Functional Gastrointestinal Disorders in Neonate/ Toddler. SRIMEDJ [Internet]. 2018 Jul. 29 [cited 2024 Nov. 22];33(5):17-22. Available from: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/SRIMEDJ/article/view/137033

Issue

Section

บทความ