Advanced Wound Dressing

Authors

  • เก่งกาจ วินัยโกศล

Abstract

ปัจจุบันได้มีการผลิตวัสดุในการดูแลบาดแผลออกมามากมายหลายชนิด ทำให้เราสามารถที่จะดูแลบาดแผลให้กับผู้ป่วยได้ในทุกๆ บาดแผล แต่ในการเลือกใช้วัสดุต่างนั้น ผู้ที่ให้การดูแลบาดแผลควรที่จะทราบว่าวัสดุในการดูแลบาดแผลนั้นมีชนิดใดบ้าง ข้อดี-ข้อเสีย ของวัสดุแต่ละอันเป็นอย่างไร โดยเฉพาะในแผลเรื้อรัง (Chronic wound) ชนิดต่างๆ ซึ่งต้องการดูแลที่มากกว่าแผลสด (Acute wound) โดยวัสดุทำแผลที่ดีควรมีลักษณะดังต่อไปนี้1, 2

  1. สามารถดูดซึมและเก็บกักสารคัดหลั่ง (exudate) ที่ออกมาจากแผลได้
  2. ไม่มีสารตกค้างอยู่ภายในแผล
  3. น้ำสามารถซึมผ่านออกมาได้
  4. เป็นฉนวนกันความร้อน
  5. ไม่ทำให้เกิดการบาดเจ็บเมื่อทำการเปลี่ยนวัสดุทำแผล
  6. ไม่ต้องเปลี่ยนแผลบ่อย
  7. ลดความเจ็บปวดให้ผู้ป่วย
  8. ผู้ป่วยรู้สึกสบาย
  9. ไม่ระคายเคืองผิวหนัง

10. กระตุ้นการหายของบาดแผล

11. ไม่แพง

Downloads

How to Cite

1.
วินัยโกศล เ. Advanced Wound Dressing. SRIMEDJ [Internet]. 2013 Nov. 27 [cited 2024 Oct. 10];28(4):18-23. Available from: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/SRIMEDJ/article/view/14745