ความชุกอาการปวดและสุขภาพโดยทั่วไปภายหลังจากการเปลี่ยนข้อเข่าเทียม; การศึกษาแบบตัดขวาง

ผู้แต่ง

  • วิชชาภรณ์ วิทยาคม สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น https://orcid.org/0000-0001-7527-5170
  • ฤทธิ์ อภิญญาณกุล สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • กมลศักดิ์ สุคนธมาน สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • วีระชัย โควสุวรรณ สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

การเปลี่ยนข้อเข่าเทียม, การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม, สุขภาพจิต, ความเจ็บปวด

บทคัดย่อ

หลักการและวัตถุประสงค์: คนไข้หลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจำนวนหนึ่งยังมีอาการปวด ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของอาการปวดและสุขภาพจิตของผู้ป่วยเหล่านี้

วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลังในผู้ป่วยร่วมงานรวมพลคนข้อใหม่ที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ พ.ศ.2562 จากแบบสอบถามระบุตำแหน่ง ระดับความปวด แบบประเมิน Thai GHQ-28

ผลการศึกษา: ผู้ป่วย 53 ราย ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม 76 ข้อ พบอาการปวดด้านหน้าเข่าร้อยละ 57.89 ค่าเฉลี่ยคะแนนความปวดเมื่อเดินและคะแนนรวม Thai GHQ-28 score เป็น 1.49±2.13 และ 1.77±2.85 ตามลำดับ ความปวดเมื่อเดิน เมื่อพัก ข้อฝืดติดช่วงเช้า ฝืดติดระหว่างวันสัมพันธ์ต่ำกับความบกพร่องทางสังคม (correlation coefficient 0.317,0.307,0.385,0.339; p<0.05) นอกจากนี้ ความปวดเมื่อพักยังมีความสัมพันธ์ปานกลางกับอาการซึมเศร้าที่รุนแรง (correlation coefficient=0.441, p=0.001)

สรุป: ร้อยละ 58 ของผู้ป่วยหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมมีอาการปวดเล็กน้อย ส่วนใหญ่ปวดที่บริเวณหน้าข้อเข่า อาการปวดและข้อฝืดมีความสัมพันธ์ระดับต่ำกับความบกพร่องทางสังคม นอกจากนี้ อาการปวดเมื่อพักภายหลังจากเปลี่ยนข้อเข่าเทียมยังสัมพันธ์ปานกลางกับอาการซึมเศร้าที่รุนแรงด้วย

Author Biographies

วิชชาภรณ์ วิทยาคม, สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คุณวุฒิสูงสุด วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์

สถาบัน สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ฤทธิ์ อภิญญาณกุล, สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คุณวุฒิสูงสุด วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์

สถาบัน สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

กมลศักดิ์ สุคนธมาน, สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คุณวุฒิสูงสุด วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์

สถาบัน สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

 

วีระชัย โควสุวรรณ, สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คุณวุฒิสูงสุด วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์

สถาบัน สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

 

References

Mihalko WM. Arthroplasty of the knee. In: Azar FM, Beaty JH, editors. Campbell’s Operative Orthopaedics. 14th ed. Philadelphia: Elsevier; 2021:406–84.

Beswick AD, Wylde V, Gooberman-Hill R, Blom A, Dieppe P. What proportion of patients report long-term pain after total hip or knee replacement for osteoarthritis? A systematic review of prospective studies in unselected patients. BMJ Open 2012;2(1):e000435. doi:10.1136/bmjopen-2011-000435

Kahlenberg CA, Nwachukwu BU, McLawhorn AS, Cross MB, Cornell CN, Padgett DE. Patient satisfaction after total knee replacement: a systematic review. HSS J 2018;14(2):192–201. doi:10.1007/s11420-018-9614-8

Wylde V, Beswick A, Bruce J, Blom A, Howells N, Gooberman-Hill R. Chronic pain after total knee arthroplasty. EFORT Open Rev 2018;3(8):461–70. doi:10.1302/2058-5241.3.180004

Elson DW, Jones S, Caplan N, Stewart S, St Clair Gibson A, Kader DF. The photographic knee pain map: locating knee pain with an instrument developed for diagnostic, communication and research purposes. Knee 2011;18(6):417–23. doi:10.1016/j.knee.2010.08.012

Nilchaikovit T, Chakkrit S, Silpakit C. Reliability and validity of the Thai version of the General Health Questionaire. J Psychiatr Assoc Thai 1996;41(1):2–17.

Popovic N, Lemaire R. Anterior knee pain with a posterior-stabilized mobile-bearing knee prosthesis: the effect of femoral component design. J Arthroplasty 2003;18(4):396–400. doi:10.1016/s0883-5403(03)00059-7

van Jonbergen HPW, Scholtes VAB, van Kampen A, Poolman RW. A randomised, controlled trial of circumpatellar electrocautery in total knee replacement without patellar resurfacing. J Bone Joint Surg Br 2011;93-B(8):1054–9. doi:10.1302/0301-620X.93B8.26560

Baliga S, McNair CJ, Barnett KJ, MacLeod J, Humphry RW, Finlayson D. Does circumpatellar electrocautery improve the outcome after total knee replacement?: A prospective, randomised, blinded controlled trial. J Bone Joint Surg Br 2012;94-B(9):1228–33. doi:10.1302/0301-620X.94B9.27662

Smith AJ, Wood DJ, Li MG. Total knee replacement with and without patellar resurfacing: A prospective, randomised trial using the profix total knee system. J Bone Joint Surg Br 2008;90-B(1):43–9. doi:10.1302/0301-620X.90B1.18986

Papakostidou I, Dailiana ZH, Papapolychroniou T, Liaropoulos L, Zintzaras E, Karachalios TS, et al. Factors affecting the quality of life after total knee arthroplasties: a prospective study. BMC Musculoskelet Disord 2012;13(1):116. doi:10.1186/1471-2474-13-116

Thiam WD, Teh JWD, Razak HRBA, Tan HCA. Correlations between functional knee outcomes and health-related quality of life after total knee arthroplasty in an asian population. J Arthroplasty 2016;31(5):989–93. doi:10.1016/j.arth.2015.11.004

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-23

How to Cite

1.
วิทยาคม ว, อภิญญาณกุล ฤ, สุคนธมาน ก, โควสุวรรณ ว. ความชุกอาการปวดและสุขภาพโดยทั่วไปภายหลังจากการเปลี่ยนข้อเข่าเทียม; การศึกษาแบบตัดขวาง . SRIMEDJ [อินเทอร์เน็ต]. 23 ธันวาคม 2023 [อ้างถึง 12 เมษายน 2025];38(6):564-9. available at: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/SRIMEDJ/article/view/260218