Management Time of Operating Room for Emergency Patients in Office Hour at Srinagarind Hospital

Authors

  • Palardej Narrautto
  • Polpun Boonmak
  • Suhattaya Boonmak
  • Wanichada Martsud
  • Wanarat Chinnapan
  • Somboon Bulanleamwong
  • Pikul Malasai
  • Punlop Boondech

Keywords:

emergency surgery, operation room, ห้องผ่าตัด, ภาวะฉุกเฉิน

Abstract

Background and Objective: Emergency operating roomsmust be readiness for emergency procedure. Their key performance index is “all patientsreceived procedure within optimized time depend on triage”. So, we would like to studypercentage of patients that received procedure within optimized time during in-office hour and process time of each steps, including obstacles for quality improvement.

Methods: This study was prospective descriptive study. We studied in patients who received service in emergency operating room during in-office hour. Data were sought from medical record and study record. Patients were classified depend on their emergency condition group by surgeons (triage). We recorded process time of each steps from request for service until finished procedure. We also recorded obstacles.

Result:One hundred and thirty-two patients were included into study.None of true emergency cases werereceived procedure within 15 minutes.Emergency cases that received procedure within 1 hourwere 65.2%. Urgency cases that received procedure within 6 hours was 91.8%. And all elective cases received procedure within expected period.Medianof waiting time was 2 hours. Obstacles were insufficient operating room, working processproblem, patient preparation problem, coordination problem,andpatient transferring problem.

Conclusion:Some patients did not receive procedure within optimized time period. Obstacles wereinsufficient operating room, working process. Systematic operating room managementmight improve patient case quality.


ระยะเวลาการบริหารจัดการห้องผ่าตัดสำหรับผู้ป่วยฉุกเฉินในเวลาราชการของโรงพยาบาลศรีนครินทร์

หลักการและวัตถุประสงค์: ห้องผ่าตัดฉุกเฉินต้องพร้อมให้บริการผู้ป่วยที่ต้องเข้ารับการผ่าตัดฉุกเฉิน ซึ่งมีตัวชี้วัดคือ ผู้ป่วยควรได้รับการผ่าตัดในเวลาที่เหมาะสมตามความเร่งด่วนดังนั้นจึงต้องการศึกษาการได้รับการผ่าตัดภายในเวลาที่กำหนดในเวลาราชการ ระยะเวลาแต่ละขั้นตอนและปัญหาที่พบเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

วิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงพรรณนาแบบไปข้างหน้าในผู้ป่วยที่รับบริการที่ห้องผ่าตัดฉุกเฉินในเวลาราชการโดยใช้ข้อมูลจากแฟ้มประวัติผู้ป่วยและแบบบันทึกข้อมูล ผู้ป่วยถูกแบ่งกลุ่มตามความเร่งด่วนของการผ่าตัดโดยแพทย์เจ้าของไข้ ผู้ร่วมวิจัยบันทึกเวลาในแต่ละขั้นตอนตั้งแต่เมื่อมีความประสงค์ใช้ห้องผ่าตัดไปจนถึงผู้ป่วยได้รับการทำหัตถการแล้วเสร็จ และบันทึกโอกาสพัฒนาที่พบ

ผลการศึกษา:ศึกษาในผู้ป่วย132 รายผู้ป่วยฉุกเฉินมากไม่มีรายใดสามารถผ่าตัดภายใน 15 นาที ผู้ป่วยฉุกเฉินร้อยละ 65.2 สามารถผ่าตัดภายใน 1 ชั่วโมง ผู้ป่วยด่วนร้อยละ 91.8 สามารถผ่าตัดภายใน 6 ชั่วโมง และผู้ป่วยทั่วไปทุกคนสามารถผ่าตัดภายในเวลาที่กำหนด ค่ามัธยฐานของระยะเวลาในการรอผ่าตัด2 ชั่วโมง ปัญหาที่พบคือ จำนวนห้องผ่าตัดไม่เพียงพอและปัญหาของกระบวนการตั้งแต่ขั้นตอนในห้องผ่าตัดการเตรียมผู้ป่วย การประสานงาน และการรับส่งผู้ป่วย

สรุป: ผู้ป่วยบางส่วนได้รับการผ่าตัดช้ากว่าที่คาดหวัง สาเหตุจากห้องผ่าตัดไม่เพียงพอและปัญหาของระบบทำงาน ดังนั้นการบริหารจัดการอย่างมีระบบน่าจะช่วยเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยได้


Downloads

How to Cite

1.
Narrautto P, Boonmak P, Boonmak S, Martsud W, Chinnapan W, Bulanleamwong S, Malasai P, Boondech P. Management Time of Operating Room for Emergency Patients in Office Hour at Srinagarind Hospital. SRIMEDJ [Internet]. 2017 Jun. 24 [cited 2024 May 2];32(3). Available from: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/SRIMEDJ/article/view/90596

Issue

Section

Original Articles