การประเมินการให้บริการทางเภสัชกรรมของผู้ให้บริการในร้านยาโดยใช้ผู้ป่วยจำลอง

ผู้แต่ง

  • องอาจ องอาจ มณีใหม่ สาขาวิชาบริบาลเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา พะเยา
  • ฐาปนี ฐาปนี ใจปินตา สาขาวิชาบริบาลเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา พะเยา
  • พิชญุตม์ พิชญุตม์ รัตนธัญพัทธ์ ฝ่ายการบริการเภสัชกรรม ศูนย์การแพทย์และโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยพะเยา พะเยา

DOI:

https://doi.org/10.69598/tbps.15.2.47-57

คำสำคัญ:

การบริการทางเภสัชกรรม, มาตรฐานร้านยา, เภสัชกรรมชุมชน, ร้านยา, ผู้ป่วยจำลอง

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการให้บริการทางเภสัชกรรมของผู้ให้บริการในร้านยาโดยใช้ผู้ป่วยจำลอง เก็บข้อมูลโดยใช้ผู้ป่วยจำลองโรคหวัด สุ่มเข้ารับบริการในร้านยาพื้นที่จังหวัดพะเยา จำนวน 56 ร้าน และประเมินการให้บริการทางเภสัชกรรม 3 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านการซักถามข้อมูลที่จำเป็นของผู้มารับบริการ (2) ด้านการแสดงข้อมูลบนฉลากยา (3) ด้านการส่งมอบยาและการให้คำแนะนำผู้ป่วย ผลการศึกษาพบว่า ด้านการซักถามข้อมูลที่จำเป็นของผู้มารับบริการพบว่า มีการซักถามถึงอาการนำของผู้รับบริการสูงสุด (52 ร้าน, ร้อยละ 92.9) รองลงมาคือ การซักถามข้อมูลอาการร่วมอื่น (40 ร้าน, ร้อยละ 71.4) และความรุนแรงของอาการหรือโรค (18 ร้าน, ร้อยละ 32.1) ตามลำดับ  ด้านการแสดงข้อมูลบนฉลากยา พบว่าข้อมูลที่ร้านยาแสดงบนฉลากมากที่สุด คือ วิธีการใช้ยา (45 ร้าน, ร้อยละ 80.4) ข้อบ่งใช้ (42 ร้าน, ร้อยละ 75.0) และ คำแนะนำ หรือคำเตือนของยา (24 ร้าน, ร้อยละ 42.9) ตามลำดับ ด้านการส่งมอบยาและการให้คำแนะนำผู้ป่วย ร้านยาส่วนใหญ่อธิบายเกี่ยวกับข้อบ่งใช้ของยามากที่สุด (51 ร้าน, ร้อยละ 91.1) รองลงมา คือ ขนาดและวิธีการใช้ยา (50 ร้าน, ร้อยละ 89.3) และอาการไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา (37 ร้าน, ร้อยละ 66.1) ตามลำดับ สรุปผลได้ว่าการให้บริการทางเภสัชกรรมของผู้ให้บริการในร้านยาในบางประเด็นยังไม่สอดคล้องและครบถ้วนตามมาตรฐานร้านยา ดังนั้นจึงยังมีความจำเป็นต้องพัฒนาในหลายประเด็นเพื่อส่งเสริมให้ร้านยาเกิดการปรับปรุงและพัฒนาเป็นร้านยาที่มีคุณภาพ เป็นที่พึ่งและทางเลือกด้านสุขภาพที่มีมาตรฐานของประชาชนต่อไป






 

References

The Office of Community Pharmacy Accreditation (Thailand). About the Office of Community Pharmacy Accreditation (Thailand) [Internet]. Nonthaburi: The Office; c2020. [cited 2020 Mar 3]; Available from: https://papc.pharmacycouncil.org/index.php?option=aboutus&subpage=aboutus (in Thai)

Punyain U. Service quality of drug stores in Muang district, Chiangmai [master's thesis]. Chiangmai: Maejo University; 2013. (in Thai)

Songsirisuk N, Upakdee N. Survey of community pharmacist’s professional activities in Thailand. Thai J Pharm Pract. 2017;9(2):307-20. (in Thai)

Kaew-on P, Lerkiatbundit S, Saengcharoen W. Is there any difference in the quality between the pharmacies accredited by the pharmacy council and non-accredited pharmacies? Thai J Pharm Pract. 2012;4(2):39-64. (in Thai)

Rojpibulstil M. Drug dispensing for sexually transmitted diseases in drugstores in Songkhla Province. Songkla Med J. 1998;16(4):213-25. (in Thai)

Tungsawatdirat T, Kongchai K, Maneemai O. Behaviors and attitudes of medication label writing according to the good pharmacy practice of northern community pharmacists. Thai Bull Pharm Sci. 2018;13(2): 117-27. (in Thai)

Plianbangchang P, Hongsamut D. Drugstore owners’opinions on drugstore standards of the Pharmacy Council: a nation-wide survey. J Health Sci. 2006;15(1):111-22. (in Thai)

Chariyasirisuk S, Saokaew S. Inspection of good pharmacy practice among modern drugstores in Kamphaengphet. Thai J Pharm Pract. 2020;12(1):173-84. (in Thai)

Wongruttanachai A, Teawtragool P, Ngentongneam P, Kathawee S. Customer’s opinions toward services of the accredited pharmacy in Bangkok. J Health Res. 2007;21(1):55-66. (in Thai)

Pummangura C, Praphuchaka P, Sookaneknun P, Kanjanasilp J, Somsaard P, Sooksai N, et al. Systematic review of community pharmacy practice research. Isan J Pharm Sci. 2012;8(2):76-93. (in Thai)

Rutter PM, Horsley E, Brown DT. Evaluation of community pharmacists’ recommendations to standardized patient scenarios. Ann Pharmacother. 2004;38:1080-5.

Ibrahim MI, Palaian S, Al-Sulaiti F, El-Shami S. Evaluating community pharmacy practice in Qatar using simulated patient method: acute gastroenteritis management. Pharm Pract. 2016;14(4):800.

Saengcharoen W, Lerkiatbundit S. Migraine management in community pharmacies: practice patterns and knowledge of pharmacy personnel in Thailand. Headache. 2013;53:1451-63.

Saengcharoen W, Chongsuvivatwong V, Lerkiatbundit S, Wongpoowarak P. Client and pharmacist factors affecting practice in the management of upper respiratory tract infection presented in community pharmacies: a simulated client study. Int J Pharm Pract. 2008;16:265-70.

Bernard HR. Social research methods: qualitative and quantitative approaches. Thousand Oaks (CA): Sage Publications; 2000.

The Pharmacy Council of Thailand. The skill manual of professional competencies of pharmacy profession (core competencies) B.E. 2562. Nonthaburi: The Council; 2019. (in Thai)

Saengcharoen, W., Lerkiatbundit, S. Practice and attitudes regarding the management of childhood diarrhoea among pharmacies in Thailand. Int J Pharm Pract. 2010;18:323-31.

Karim R, Ramdahin P, Boodoo JR, Kochhar A, Pinto Pereira LM. Community pharmacists' knowledge and dispensing recommendations for treatment of acute diarrhoea in Trinidad, West Indies. Int J Clin Pract 2004;58(3):264–7.

Cheewasrirungrueng N, Lerkiatbundit S, Soorapan S. Drug related problems due to incomplete history taking in community pharmacies: cases of purchasing drugs for others and demanding for specific drugs. Thai J Pharm Pract. 2010:2(1):60-75. (in Thai)

Nontaleeruk P, Intharapong S, Plianbangchang P. Community pharmacists’ medicine labeling behavior in Bangkok and its metropolitan areas. Naresuan Univ J. 2006;14(3):27-34. (in Thai)

Thavornwattanayong W, Yuklanthuan C, Panyakrua P, Nakarin R, Athitrakoonlert E. Pharmacy owner’s opinions in Nakorn Pathom Province on the notification of the Ministry of Public Health B.E. 2557 (2014) on the regulations of setting, equipment and pharmacy practice. Thai Bull Pharm Sci. 2016;11(2):27-44. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-10-21

How to Cite

องอาจ มณีใหม่ อ. ., ฐาปนี ใจปินตา ฐ. ., & พิชญุตม์ รัตนธัญพัทธ์ พ. . (2020). การประเมินการให้บริการทางเภสัชกรรมของผู้ให้บริการในร้านยาโดยใช้ผู้ป่วยจำลอง. ไทยไภษัชยนิพนธ์, 15(2), 47–57. https://doi.org/10.69598/tbps.15.2.47-57