การตรวจหาสเตียรอยด์ในยาแผนโบราณและยาสมุนไพร

Authors

  • อรอุมา ภู่ประเสริฐ ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม
  • เพ็ญศรี เนื่องสืกขาเพียร ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม
  • ลาวัลย์ ศรีพงษ์ ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม
  • มาลัย สถิรพันธ์ุ ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม
  • จันคนา บูรณะโอสถ ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม
  • คนาวรรณ พจนาคม ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม
  • ปัญจพล เหล่าพูนพัฒน์ ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม
  • ปนัดดา ใยภักดี ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม
  • ชุติมา จารุโชคทวีชัย ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม
  • ไพบูลย์ นันทนากรณ์ ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม
  • สุรีย์ บุญเจริญ ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม
  • จิตติไพบูลย์ เอกะจัมปกะ ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม
  • ระพีพรรณ ฉลองสุข ภาควิชาเภสัชกรรมชุมชน คณะเภสัชศาสตร์ ม.ศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม

DOI:

https://doi.org/10.14456/tbps.2002.1

Keywords:

ยาแผนโบราณ, สเตียรอยด์, เพรดนิโซโลน, เดซาเมธาโซน

Abstract

การตรวจหาสเตียรอยด์ในยาแผนโบราณและยาสมุนไพรที่ส่งมาวิเคราะห์ที่ภาควิิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร๋ มหาวิทยาลัยศิลปากร ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ.2542 ถึงพฤษภาคม พ.ศ.2543 จำนวน 232 ตัวอย่าง ด้วยวิธีรงคเลขผิวบางพบว่า 65 ตัวอย่างที่มีสเตียรอยด์ผสมอยู่นั้นมีเพรดนิโซโลนและเดวาเมธาโซน ร้อยละ 12.0 10.8 และ 5.2 ตามลำดับ โดยพบอยู่ในรูปของยาลูกกลอนร้อยละ 66.2 และสมุนไพรผงร้อยละ 24.6 เมือพิจารณาถึงปัจจัยอื่น ๆ ร่วมด้วย ได้แก่ แหล่งกระจายยา และสรรพคุณในการรักษา พบว่าตัวอย่างที่ตรวจสเตียรอยด์ส่วนใหญ่ได้มาจากร้านขายของชำและจากตัวอย่างที่มีสรรพคุรบ่งใช้ในการรักษาโรคเรื้อรังโดยพบมากในกลุ่มยาแก้ปวดโรคข้อ โรคเส้น และโรคเก๊าท์

Downloads

Issue

Section

บทความวิจัย