การจัดจำแนกกล้วยไม้สกุลกุหลาบด้วยเทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพีบริเวณดีเอ็นเอในคลอโรพลาสต์ (Identification of Aerides orchids using polymerase chain reaction - restriction fragment length polymorphism (PCR-RFLP) based on chloroplast DNA)
Keywords:
กล้วยไม้สกุลกุหลาบ (Aerides), คลอโรพลาสต์ดีเอ็นเอ (Chloroplast DNA), การจัดจำแนก (identification), พีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี (PCR-RFLP)Abstract
Identification of 7 Aerides species using polymerase chain reaction - restriction fragment length polymorphism (PCR-PFLP) of 2 chloroplast DNA regions revealed that 5 out of 14 restriction enzymes could digest DNA in psbA-trnH intergenic spacer region; however, only the EcoRI could give polymorphism. On the other hand, total of 7 enzymes could digest DNA in trnL-trnF region, while only 6 enzymes could reveal polymorphism. The total of 52 bands ranging between 100–1,200 bp were scored. The similarity index in interspecific level ranged from 0.481 to 1.000. Cluster analysis using unweighted pair group method with arithmetic average (UPGMA) algorithm produced a dendrogram with 2 main clusters of Aerides which was in good agreement with their morphology and distribution data.
บทคัดย่อ
การจัดจำแนกกล้วยไม้สกุลกุหลาบ 7 ชนิด ด้วยเทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพีในบริเวณดีเอ็นเอของคลอโรพลาสต์ 2 บริเวณ พบว่าจากเอนไซม์ตัดจำเพาะ 14 ชนิด มีเอนไซม์ที่สามารถตัดชิ้นส่วนดีเอ็นเอบริเวณระหว่างยีน psbA-trnH ได้ 5 ชนิด โดยที่เอนไซม์ EcoRI สามารถตัดและทำให้เกิดความแตกต่างในแต่ละตัวอย่างได้ ขณะที่มีเอนไซม์ตัดจำเพาะ 7 ชนิดที่สามารถตัดชิ้นส่วนดีเอ็นเอบริเวณอินทรอนของ trnL ร่วมกับบริเวณระหว่างยีน trnL-F ได้ โดยมีเอนไซม์ 6 ชนิดที่สามารถตัดและเกิดรูปแบบดีเอ็นเอที่แตกต่างกัน เมื่อทำการวิเคราะห์พบว่ามีชิ้นส่วนดีเอ็นเอที่เกิดจากการตัดทั้งหมด 52 แถบ ซึ่งมีขนาดอยู่ระหว่าง 100 ถึง 1,200 คู่เบส และมีค่าดัชนีความเหมือนระหว่างชนิดอยู่ระหว่าง 0.481 ถึง 0.962 จากนั้นเมื่อนำมาวิเคราะห์สายสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการแบบ UPGMA พบว่าสามารถแยกกล้วยไม้สกุลกุหลาบออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะทางสัณฐานวิทยาและการกระจายพันธุ์ด้วย
References
นฤมล ธนานันต์วริสรา แทนสง่า ธีระชัย ธนานันต์ (2557ก) การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของกล้วยไม้สกุลกุหลาบด้วยเครื่องหมายแฮตอาร์เอพีดี. ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 22: 317–326.
นฤมล ธนานันต์วริสรา แทนสง่า ธีระชัย ธนานันต์ (2557ข) การจำแนกพันธุ์และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกล้วยไม้สกุลกุหลาบด้วยลำดับนิวคลีโอไทด์ของตำแหน่งจำเพาะ.ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 22:664–673.
วริสรา แทนสง่าธีระชัย ธนานันต์นฤมล ธนานันต์ (2557) การจำแนกพันธุ์และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกล้วยไม้สกุลกุหลาบด้วยเทคนิคแฮตอาร์เอพีดีและไอเอสเอสอาร์. Thai J SciTechnol 3: 102–112.
สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล (2545)จีโนมและเครื่องหมาย
ดีเอ็นเอ:ปฏิบัติการอาร์เอพีดีและเอเอฟแอลพี.สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ.
อบฉันท์ ไทยทอง (2543) กล้วยไม้เมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ.
Christenson E (1987) The taxonomy of Aerides and related genera. In: Proceedings of the 12th World Orchid Conference, Tokyo, pp 35–40.
Doyle J, Doyle J (1987) A rapid DNA isolation procedure for small quantities of fresh leaf tissue. Phytochem. Bull 19:11–15.
Garay LA (1972) On the systematics of the monopodial orchids I. Botanical Museum Leaflets Harvard University 23:149–212.
Kim SC, Crawford DJ, Jansen RK, Guerra AS (1999) The use of a non-coding region of chloroplast DNA in phylogenetic studies of the subtribe Sonchinae (Asteraceae: Lactuceae). Pl Syst Evol 215:85–99.
Kocyan A, de Vogel EF, Conti E, Gravendeel B (2008) Molecular phylogeny of Aerides (Orchidaceae) based on one nuclear and two plastid markers: a step forward in understanding the evolution of the Aeridinae. Mol. PhylogenetEvo 48: 422–43.
Motes MR (1997) Vandas: their botany, history, and culture. Portland: Timber Press, Portland.
Rohlf FJ (2000) NTSYSpc: Numerical Taxonomy and Multivariate Analysis System, version 2.02e. User Guide. Exeter Software, Se tauket, New York.
Seidenfaden G (1973) Contributions to the orchid flora of Thailand V. Aerides. BotaniskTidsskrift 68:68–80.
Sneath PHA, Sokal RR (1973) Numerical Taxonomy. Freeman and Co., San Francisco.
Taberlet P, Gielly L, Pautou G (1991) Bouvet J. Universal primers for amplification of three non-coding regions of Chloroplast DNA. Plant MolBiol17:1105–1109.