การใช้เทคนิค HAT-RAPD ในการระบุชนิดของหนอนตายหยากจากส่วนราก (Using HAT-RAPD technique for species identification of Stemona spp. roots)

Authors

  • ณรีพร สุทธดุก Nareeporns Suttaduk
  • ศรีสุลักษณ์ ธีรานุพัฒนา Srisulak Dheeranupattana
  • สิริพร โรจน์อารยานนท์ Siriphorn Rotarayanont

DOI:

https://doi.org/10.14456/tjg.2015.11

Keywords:

หนอนตายหยาย (Stemona), เครื่องหมายโมเลกุล (molecular markers), ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ (DNA fingerprinting), HAT-RAPD technique

Abstract

S. curtisii Hook.f. roots are used as herbal insecticide due to its production of alkaloids, specifically stemocurtisine. Industrial production of insecticide from S. curtisii Hook.f. is problematic because of difficulties in distinguishing S. curtisii Hook.f. roots from those of other species. DNA analysis of Stemona spp. roots using Dellaporta et al.’s (1983) extraction method and the HAT-RAPD technique with 20 primers indicated that 10 primers, including B-01, B-05, B-07, N-13, N-18, O-10, OPAG 07, OPAG 14, OPAI 08 and OPAJ 09, produced DNA bands capable of distinguishing S. curtisii Hook.f. from other species.

รากของต้นหนอนตายหยากชนิด Stemona curtisii สามารถนำมาผลิตสารกำจัดศัตรูพืชได้เนื่องจากมีสารแอลคาลอยด์ชนิด stemocurtisine แต่การผลิตสารกำจัดศัตรูพืชในระดับอุตสาหกรรมพบว่ามีปัญหาในการจัดซื้อวัตถุดิบเพราะไม่สามารถแยกความแตกต่างของรากชนิด S. curtisii กับรากหนอนตายหยากชนิดอื่นได้ด้วยตาเปล่า ในการทดลองนี้จึงใช้เครื่องหมายโมเลกุลจากเทคนิค high annealing temperature random amplified polymorphic DNA (HAT-RAPD) ในการจำแนกชนิดของต้นหนอนตายหยากจากส่วนราก โดยวิธีที่เหมาะสมสำหรับสกัดดีเอ็นเอจากส่วนรากคือ วิธีของ Dellaporta et al. (1983) เมื่อนำดีเอ็นเอมาตรวจสอบด้วยเทคนิค HAT-RAPD โดยใช้ไพรเมอร์จำนวน 20 ไพรเมอร์ พบว่ามี 10 ไพรเมอร์ ได้แก่ B-01, B-05, B-07, N-13, N-18, O-10, OPAG 07, OPAG 14, OPAI 08 และ OPAJ 09 ที่แสดงลายพิมพ์ดีเอ็นเอของ S. curtisii แตกต่างจากหนอนตายหยากชนิดอื่น

References

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแม้โจ้ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (2551) การพัฒนาการใช้สารสกัดจากพืชเพื่อทดแทนการใช้สารเคมีสังเคราะห์ในการเกษตร รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ

ดรุณลักษม์ จันทยศ (2544) ผลของสารสกัดจากหนอน ตายหยาก (Stemona tuberosa Lour.) ต่อหนอนใยผัก (Plutella xylostella) และหนอนกะทู้ผัก (Spodoptera litura F.) ในห้องปฏิบัติการ การค้นคว้าแบบอิสระเชิงวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่

นิจศิริ เรืองรังสี พะยอม ตันติวัฒน์ (2534) พืชสมุนไพร สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ

ศรีสุลักษณ์ ธีรานุพัฒนา อารยา จาติเสถียร สิริพร แจ้งสุทธิวรวัฒน์ นฏา อารยะสกุล (2547) การจำแนกสายพันธุ์ต้นหนอนตายหยาก (Stemona spp.) ด้วยเทคนิคทางพันธุศาสตร์โมเลกุล รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่

สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง อภิชาต วรรณวิจิตร (2544) เทคโนโลยีดีเอ็นเอกับการควบคุมคุณภาพข้าว วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับข้าวไทย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 5: 123-126.

สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล (2552) เครื่องหมายดีเอ็นเอ : จากพื้นฐานสู่การประยุกต์ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ

อริยาภรณ์ พงษ์รัตน์ กาญจนา รุ่งรัชกานนท์ ศรีประไพ ธรรมแสง วรงค์ นัยวินิจ ภาคภูมิ สืบนุการณ์ อารี วังมณีรัตน์ นิธิมา สุทธิพันธ์ (2547) การศึกษาการผลิตและการขยายพันธุ์หนอนตายหยาก รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, กรุงเทพฯ

Agrawal GK, Pandey RN Agrawal VP (1992) Isolation of DNA from Choerospondias asillaris leaves. Biotech Biodiv 2: 19-24.

Anuntalabhochai S Chaingda J Chundet R Apavatjrut P (2000) Genetic diversity within Lychee (Litchi chinensis Sonn.) based on RAPD analysis. Present in International Symposium on Tropical and Subtropical Fruits, Nov 26th-Dec 1st. Canns Australia pp 45

Chundet R Cutler RW Tasanon M Anuntalabhochai S (2007) Hybrid detection in lychee (Litchee chinensis Sonn.) cultivars using HAT-RAPD markers. Sci Asia 33: 307-311.

Dellaporta SL Wood J Hicks JB (1983) A plant DNA minipreparation: version II. Plant Mol Biol Report 1: 19-21.

Micheli MR Bova R Pascale E D’Ambrosio E (1994) Reproducible DNA fingerprinting with the random amplified polymorphic DNA (RAPD) method. Nucleic Acids Res 22: 1921-1922.

Mungkornasawakul P Pyne SG Jatisatienr A Supyen D Lie W Ung AT Skelton BW White AH (2003) Stemonacurtisine, the first pyrido [1,2-a] azapine Stemona alkaloid. J Nat Prod 66: 980-982.

Ying M Dyer WE Bergman JW (1992) Agrobacterium tumefaciens mediated transformation of safflower (Carthamus tinctovius L.) cv. ‘Contennial’. Plant Cell Rep 11: 581-585.

Downloads

Published

2015-05-01

Issue

Section

Research Articles