การเคลือบวุ้นบนผิวเนื้อมะพร้าวด้วยเทคนิคการเคลือบด้วยไฟฟ้าสถิต

Main Article Content

Suthicha Chinnabutr
Sapphaya Thong-ngam
Pantaree Thepmala
Kobsak Kanjanapongkul

บทคัดย่อ

เทคนิคการเคลือบด้วยการใช้ไฟฟ้าสถิตโดยใช้ไฟฟ้ากระแสตรงที่แรงดันต่ำได้ถูกใช้ในการเคลือบวุ้นบนผิวเนื้อมะพร้าว จากการศึกษาพบว่า น้ำวุ้นที่ความเข้มข้น 0.5-1 %w/v มีความเหมาะสมที่จะถูกนำมาใช้เป็นวัสดุเคลือบ ชั้นวุ้นของตัวอย่างที่ผ่านการเคลือบโดยวิธีใหม่มีความหนากว่าตัวอย่างที่ถูกเคลือบด้วยวิธีปกติร้อยละ 150 ถึง 200 ซึ่งมีสาเหตุจากแรงดันไฟฟ้าดึงดูดโมเลกุลของวุ้นเข้ามาโดยรอบเนื้อมะพร้าว ทำให้เร่งการเกิดชั้นวุ้นได้เร็วขึ้น โดยความหนาของชั้นวุ้นเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ความเข้มข้นของน้ำวุ้น และเวลาในการเคลือบ ในขณะที่ความหนาแน่นของชั้นวุ้นเคลือบขึ้นกับอุณหภูมิที่ใช้ในการเคลือบอย่างชัดเจน นอกจากนี้ยังพบว่าชั้นวุ้นที่เคลือบบนตัวอย่างมีความสม่ำเสมอกว่าและใช้เวลาของกระบวนการที่สั้นลง ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าเทคนิคการเคลือบด้วยการใช้ไฟฟ้าสถิตสามารถนำมาประยุกต์ในกระบวนการเคลือบอาหารได้ โดยสามารถลดเวลาของกระบวนการ ควบคุมความสม่ำเสมอ ความหนา และความหนาแน่นของชั้นวัสดุเคลือบได้

Article Details

How to Cite
Chinnabutr, S., Thong-ngam, S., Thepmala, P., & Kanjanapongkul, K. (2020). การเคลือบวุ้นบนผิวเนื้อมะพร้าวด้วยเทคนิคการเคลือบด้วยไฟฟ้าสถิต. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 15(1), 53–63. สืบค้น จาก https://li01.tci-thaijo.org/index.php/JFTSU/article/view/203924
บท
บทความวิจัย (Research Articles)

References

[1] Wetwitayaklung, P. (2013). Coconut proteins. Thai Bulletin of Pharmaceutical Sciences. 8(1): 9-18.
[2] Pootao, S. and Kanjanapongkul, K. (2016). Effects of ohmic pretreatment on crude palm oil yield and key qualities. Journal of Food Engineering. 190: 94-100.
[3] Klinsoda, J. (2016). Edible coating and film for vegetables and fruits. Institute of Food Research and Product Development Journal. 46: 33-39.
[4] Chaisomboonphan, P. (2012). Study and analysis of iron color coating technology using sustainable industry development. Master’s thesis. Rajamangala University of Technology Phra Nakhon. (In Thai).
[5] Trirongrat, W. (2014). Defectives reduction in steel spray painting process using FMEA technique: Case study of Gold Press Industry Co., Ltd. Rajamangala University of Technology Thanyaburi. (In Thai).
[6] Tsuchiya, Y. and Hong, K.C. (1965). Agarose and agaropectin in gelidium and gracilaria agar. In Proceedings of the Fifth International Seaweed Symposium, Pergamon. August 25–28, 1965. 315-321.
[7] Rioux, L.E. and Turgeon, S.L. (2015). Seaweed carbohydrates. Seaweed Sustainability. Elsevier Science Publishing Co Inc.
[8] Somboom, N. (2013). Properties of agar and fish gelatin mixed gels. Master’s Thesis. Prince of Songkla University. (In Thai).
[9] Pomfret, R., Sillay, K. and Miranpuri, G. (2013). Investigation of the electrical properties of agarose gel: characterization of concentration using nyquist plot phase angle and the implications of a more comprehensive in vitro model of the brain. Annals of neurosciences. 20(3): 99–107.