ปัจจัยที่เหมาะสมของข้อต่อในงานเฟอร์นิเจอร์ไม้

Authors

  • ศิริชัย ยศวังใจ ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ - 1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10800 โทร 02-555-2000 ต่อ 6510
  • สมชาย เวชกรรม ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ - 1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10800 โทร 02-555-2000 ต่อ 6510
  • ธีรพงศ์ แขกระจ่าง ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ - 1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10800 โทร 02-555-2000 ต่อ 6510
  • นรวิชญ์ ทองแผ่น ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ - 1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10800 โทร 02-555-2000 ต่อ 6510

Keywords:

ปัจจัยที่เหมาะสม, ข้อต่อไม้, เฟอร์นิเจอร์, การออกแบบการทดลอง, Optimal factor, Wood Joinery, Furniture, Design of experiment

Abstract

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาปัจจัยที่ส่งผลต่อความแขงงแรงของเฟอร์นิเจอร์ โดยกำหนดชิ้นทดสอบในส่วนของข้อต่อที่ทำการต่อด้วยสลักเดือยขนาด 10 มิลลิเมตร ขนาดชิ้น ทดสอบตามมาตรฐานการทดสอบข้อต่อไม้ ปัจจัยที่ส่งผลกำหนด 3 ปัจจัย คือ ระยะห่างระหว่างสลัก เดือย ความลึกของรูเจาะสลักเดือยข้อต่อหลัก และความลึกของรูเจาะสลักเดือยข้อต่อรอง ระยะห่าง ระหว่างสลักเดือยมี 3 ระดับ คือ 16, 22 และ 28 มิลลิเมตร และความลึกของรูเจาะมี 3 ระดับ คือ 16, 24 และ 32 มิลลิเมตรผลการศึกษาพบว่า ระยะห่างระหว่างรูเจาะสลักเดือย ความลึกรูเจาะ ข้อต่อหลัก และความลึกรูเจาะข้อต่อรอง มีอิทธิพลต่อความแข็งแรงของข้อต่ออย่างมีนัยสำคัญ และสภาวะที่เหมาะสมที่สุดของการของการปรับตัั้งปัจจัยเหล่านี้เพื่อให้เกิดความแข็งแรงตามที่ ต้องการ ได้แก่ ระยะห่างระหว่างรูสลักเดือยให้มีระยะห่าง 28 มิลลิเมตร ความลึกของรูเจาะข้อต่อ หลักเท่ากับ 32 มิลลิเมตร และความลึกของรูเจาะข้อต่อรองเท่ากับ 18.7475 มิลลิเมตร

 

Optimal Factor of Wood Joinery in Wood Furniture

The objective of the research was to identify factors affecting the strength of wood furniture and wood joinery. 10-millimeter-wide dowels were tested to identify optimal spacing, and depth of the main and sub-main dowels. The dowel spacing was tested at 16, 22 and 28 mm. The depth of the main dowel was tested at 16, 24 and 32 mm. The result showed that the three factors are statistically significant with regard to the strength of furniture at a level of 0.05. The optimal conditions for wood joinery were to have: a dowel spacing of 28 mm; a main dowel depth of 32 mm; and a sub-main dowel depth of 18.7475 mm.

Downloads