Effect and Curing Sensiticity Index of Different Curing Methods on Compressive Strength of Normal Concrete

Authors

  • สถิตย์พงษ์ วงศ์สง่า คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
  • Supawadee Sermram
  • Chaowat Dongklang
  • Nantachet Chitip
  • Phasobchonk Puaynongkhae

Keywords:

traditional cloth patterns, textile product, local identity

Abstract

This research was to study the effects and Curing sensitivity Index (CSI) of different curing methods for compressive strength of normal concrete, which the water-cement ratio was designed to 0.45 0.57 and 0.67.
The specimens of experimental were cured by six different curing methods.
The curing regime employed were: water-submerged,  burlap curing,  moist sand curing, spray curing and air curing.  After that, it was tested for compressive streng that  7 14  and  28 days.

            The results showed that curing influenced the development of compressive strength of concrete. The curing method can be sorted from maximum to the minimum of compressive strength of concrete as follows: water-submerged, burlap curing, moist sand curing, spray curing and air curing. The Curing Sensitivity Index (CSI) of water-submerged and burlap curing were the least, while the air curing method is most valuable.
The multiplication parameters of each curing method can be determined.  From the equation of the logarithm of Y = A ln (x) + B, the variance of the R-Squared (R2) variable is high, which means that the equation used is suitable for the data.

Keywords: curing, compressive strength, curing sensitivity index, multiple

               parameter,  logarithm

Author Biography

สถิตย์พงษ์ วงศ์สง่า, คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

เอกสารประวัติย่อ

ชื่อ – นามสกุล

:

นายสถิตย์พงษ์  วงศ์สง่า 

เลขทะเบียนวิศวกรควบคุม ภย. 46989

ประวัติการศึกษา

ประวัติการศึกษา ระดับ ม.6   ป.ตรี ป.โท

ระดับปริญาโท

พ.ศ. 2552 – พ.ศ. 2555

ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เกรดเฉลี่ย 3.59

ระดับปริญญาตรี

พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550

ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา(วิศวกรรมชนบท) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

เกรดเฉลี่ย 2.78

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

พ.ศ. 2543 – พ.ศ. 2545

มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6 ) สายวิทย์ – คณิต

โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ จ.มหาสารคาม เกรดเฉลี่ย 3.54

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

พ.ศ. 2540 – พ.ศ. 2542

มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.3)

โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ จ.มหาสารคาม

ประวัติการทำงานและประสบการณ์ทำงาน

พ. ย.2559 – ปัจจุบัน

ประธานหลักสูตร อส.บ.สาขาวิชาเทคโนโลยีก่อสร้าง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา

ก.ย. 2558 –  ก.ย. 2559

ตำแหน่งรองประธาน หลักสูตร ฯ และอาจารย์ประจำโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีก่อสร้าง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา

16 พ.ค. 2556 – ส.ค. 2558

อาจารย์ประจำหลักสูตร อส.บ. เทคโนโลยีก่อสร้าง

พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2552

วิศวกรโครงการอาคารที่พักอาศัย 24  ชั้น ปัจจุบัน (โรงแรมเดอะ เวอร์ติคอล สูท (The Vertical Suite) : บริษัท ยุทธพร ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด

พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2551

วิศวกรสนามอาคารโรงงานสำเร็จรูป 3 ชั้น บริษัทแฟคทอรี่เพอเฟค จำกัด นิคมอุตสาหกรรมบางปู จ.สมุทรปราการ

พ.ศ. 2549 – พ.ศ. 2550

วิศวกรสนามอาคารที่พักอาศัย 2 ชั้น จำนวน 1420 หน่วย บริษัทโคราชโมเดอร์นเวอร์ค จำกัด

ประสบการณ์ด้านวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับภาคีวิศวกร

งานด้านออกแบบ

ลำดับที่

รายละเอียดงาน

จำนวน

1

ออกแบบอาคารที่พักอาศัย คสล. 1 ชั้น  ควบคุมและออกแบบ

มากกว่า 10 หน่วย

2

ออกแบบอาคารที่พักอาศัย คสล. 2 ชั้น  (ควบคุมและออกแบบ)

มากกว่า 15 หน่วย

3

ออกแบบอาคารที่พักอาศัย คสล. 3 ชั้น  (ควบคุมและออกแบบ)

มากกว่า 5 หน่วย

4

ออกแบบอาคารโรงงาน (ออกแบบและทำรายการคำนวณ)

4 หน่วย

5

แบบป้ายโฆษณา (ออกแบบร่วมทำรายการคำนวณ) ป้ายสูง 18 ม.

2 ป้าย

 

แบบป้ายโฆษณาติดผนังอาคาร บนอาคาร ขนาด 40- 80 ตารางเมตร (ออกแบบร่วมทำรายการคำนวณ)

มากว่า 30 ป้าย

6

แบบป้ายยึดติดหน้าร้าน (ออกแบบ)

มากกว่า 30 ป้าย

7

แบบถังไซโลข้าวสาร หนัก 190 ตัน (ทำรายการคำนวณ)

1 หน่วย

8

ออกแบบอาคารโรงสีข้าว กำแพงกันดิน (ทำรายการคำนวณ)

1 หน่วย

 

References

[1] Chindaprasirt, P., Jaturapitukkul, C. (2008). Cement Pozzolan and Concrete . 5thEdition. Thailand Concrete Association. (In Thai)
[2] Wood S.L. (1991). Evaluation of the Long-Term Properties of Concrete. ACI Materials Journal. 88(26), 630-643 .
[3] Neville A.M. (2011). Properties of Concrete 5th Edition. London.
[4] ACI Committee 308. (2000) Standard Practice for Curing Concrete. ACI 308-92. American Concrete Institute. Detroit.
[5] American Concrete Institute, ACI. (2000). 211.1-91 : Standard Practice for Selecting Proportions for Normal,Heavyweight, and Mass Concrete. ACI Manual of Concrete Practice, Part . Michigan.
[6] British Standard Institute, BS 1881: Part 108. (1997). Method of Making Test Cube from Fresh Concrete. London.
[7] American Society for Testing and Material, ASTM C 143 (2001). Test Method for Slump of Hydraulic-CementConcrete, Annual Book of ASTM Standard. 4(2), 89-91.

Published

2019-03-29

Issue

Section

บทความวิจัย (Research Article)