การดูแลบาดแผล Necrotizing Fasciitis โดยใช้หนอนบำบัด (Maggot Therapy) ในระดับโรงพยาบาลชุมชน : กรณีศึกษา
Keywords:
การดูแลพื้นของบาดแผล, หนอนบำบัด, กรณีศึกษา, Wound-bed preparation, Maggot therapy, Case studyAbstract
Necrotizing Fasciitis เป็นการติดเชื้ออย่างเฉียบพลันของเนื้อเยื่ออ่อน ผิวหนัง ชั้นไขมัน ชั้นพังผืดที่ปกคลุมกล้ามเนื้อและบริเวณโดยรอบ เกิดการทำลายเนื้อเยื่อบริเวณที่เกิด การติดเชื้อ ทำให้เกิดพิษต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย อาจทำให้เสียชีวิตได้ ภายหลังจากการตัด เนื้อเยื่อที่มีการติดเชื้อออกต้องให้การดูแลพื้นของบาดแผลอย่างเหมาะสม ซึ่งจะช่วยลดความ เจ็บปวด ลดความทุกข์ทรมานทางด้านจิตใจและช่วยให้การรักษาสามารถดำเนินต่อไปได้ ตามลำดับ
ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลพื้นของบาดแผล โดยรายแรกใช้ วิธีหนอนบำบัด (Maggot therapy) 1 ชุด การรักษา (2 สัปดาห์) ซึ่งเป็นวิธีการใหม่ แพทย์ สามารถทำผิวหนังปะปลูกได้ ผู้ป่วยรักษาตัวในโรงพยาบาล 66 วัน โดยไม่สูญเสียอวัยวะ
THE MAGGOT THERAPY FOR NECROTIZING FASCIITIS WOUND-BED PREPARATION IN COMMUNITY HOSPITAL: A CASE STUDY
Necrotizing fasciitis is a rapidly progression and is a necrosis of the fascia and surrounding tissue. It is damage from infection and may cause of toxic with all system function and cause of death. Wound- bed proper preparation after doctor’s debridement can release suffering from pain and mental torture.
In this study of a patient compare with wound - bed preparation by maggot therapy 1 course (2 weeks) and skin graft in next process. This treatment can save his leg and the length of stay was 66 days.
Downloads
Issue
Section
License
โปรดกรอกเอกสารและลงนาม "หนังสือรับรองให้ตีพิมพ์บทความในวารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" ก่อนการตีพิมพ์