แนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย

Authors

  • ธัชชา รัมมะศักดิ์

Keywords:

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

Abstract

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยประกอบด้วยขั้นตอนการกลั่นกรองโครงการที่มีการระบุสิ่งคุกคาม พื้นที่และประชากรอ่อนไหว การกำหนดขอบเขตการศึกษาใช้ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญและประชาชนที่มีส่วนได้เสียในการกำหนดระดับความสำคัญและความละเอียดในการศึกษา โดยพิจารณาสิ่งคุกคามสุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การรับสัมผัสมลพิษและสิ่งคุกคามสุขภาพ ลักษณะผลกระทบต่อสุขภาพ ผลกระทบต่อระบบสุขภาพ ทรัพยากร ความพร้อมของภาคสาธารณสุข สังคมและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนส่วนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพใช้ข้อมูลพื้นฐานที่สัมพันธ์กับประเด็นที่ระบุไว้ในขอบเขตการศึกษาในการประเมินและจัดระดับความสำคัญของผลกระทบโดยมีการเสนอมาตรการป้องกันแก้ไข มาตรการติดตามตรวจสอบและการประเมินผลในรายงานเพื่อการพิจารณาและตัดสินใจ

References

การพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ, ศูนย์ประสานงาน.(2552). หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพที่เกิดจากนโยบายสาธารณะ. สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. นนทบุรี: วนิดาการพิมพ์.

คณะกรรมการกฤษฎีกา, สำนักงาน. (2550). พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550. กรุงเทพมหานคร: ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนที่ 16 ก วันที่ 19 มีนาคม 2550.

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กระทรวง. (2552). ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ.กรุงเทพมหานคร: ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 126 ตอนพิเศษ 188 ง วันที่ 29 ธันวาคม 2552.

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กระทรวง. (2553).ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติ สำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนจะต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร: ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 104 ง วันที่ 31 สิงหาคม 2553.

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กระทรวง. (2553).ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติ สำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนจะต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553.กรุงเทพมหานคร: ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 137 ง วันที่ 29 พฤศจิกายน 2553.

นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, สำนักงาน. (2557). โครงการหรือกิจการที่ต้องทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ดอกเบี้ย.

วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม, สำนัก. (2556). แนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมพิมพ์ครั้งที่ 5.สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพมหานคร: เจ วัน แอดเวอร์ไทซิ่ง โซโลชั่น.

สุขภาพแห่งชาติ, คณะกรรมการ. (2552). ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง ธรรมณูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552.กรุงเทพมหานคร: ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 126 ตอนพิเศษ 175 ง วันที่ 2 ธันวาคม 2552.

สัญชัย สูติพันธ์วิหาร. (2558). การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ภายใต้รัฐธรรมณูญและกฏหมายที่เกี่ยวข้อง. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ HIA เรื่อง ผลกระทบของกระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ครั้งที่ 1 วันที่ 26-27 มกราคม พ.ศ. 2558 ณ โรงแรมเอเชีย (หน้า 12-50). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติและมหาวิทยาลัยสงขลานคริทร์[Online].

Available: http://hsmi.psu.ac.th/conference/ [2558, 31 พฤษภาคม]

Downloads

Published

2016-06-23

Issue

Section

บทความปริทรรศน์ (Review Article)