การพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับศาสนสถาน ; Development of Religion’s Information

Authors

  • นัฐพงศ์ ส่งเนียม สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพฯ 10220
  • พวงผกา ภูยาดาว สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพฯ 10220
  • ณัฐวดี จิตรมานะศักดิ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสุขภาพและสุขศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพฯ 10220
  • โสภณา จิรวงศ์นุสรณ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสุขภาพและสุขศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพฯ 10220

Keywords:

ระบบสารสนเทศ, ศาสนสถาน, Information System, Religion

Abstract

การวิจัยครั้งนี้นำเสนอการพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับศาสนสถาน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความต้องการระบบการจัดการสารสนเทศสำหรับศาสนสถาน 2) เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับาศาสนสถาน 3) เพื่อพัฒนาและออกแบบเว็บไซด์สำหรับศาสนสถาน

 วิธีการดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็นระยะที่ 1 สำรวจความต้องการใช้ระบบสารสนเทศ กลุ่มเป้าหมายเป็นพระภิกษุจำพรรษาประจำวัด พระศรีมหาธาตุวรวิหาร บางเขน วัดหลักสี่ วัดดอนเมือง และวัดบางบัว ที่ทำหน้าเกี่ยวข้องในส่วนของกองเลขาประจำวัด จำนวน 40 รูป โดยการตอบแบบสอบถาม ระยะที่ 2 ขั้นการพัฒนาระบบตามความต้องการและทดลองใช้ระบบสารสนเทศ โดยดำเนินการทดลอง ณ วัดบางบัว จากกลุ่มตัวอย่างพระภิกษุจำนวน 15 รูป และประเมินความพึงพอใจกับพระสงฆ์ที่มีต่อระบบสารสนเทศสำหรับศาสนสถาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่  การหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ความพึงพอใจในภาพรวมต่อระบบสารสนเทศที่สร้างขึ้นยู่ในระดับมากที่สุด (\fn_jvn \bar{x}=4.63)  2) มีความพึงพอใจต่อการทำงานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบอยู่ในระดับมากที่สุด ( \fn_jvn \bar{x}=4.69)  3) มีความพึงพอใจด้านความง่ายต่อการใช้งานอยู่ในระดับมากที่สุด ( \fn_jvn \bar{x}=4.65) 4) มีความพึงพอใจด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลอยู่ในระดับมากที่สุด (\fn_jvn \bar{x} =4.75)

The research for Development of Religion’s Information used a Research and Action techniques or called Action Research. The purpose of these is for study the need of Religion’s Information to design for better information on the social medias.

          The group sample included the monks who resident at Bangbour Temple, Prasrimahatath Temple at Bangkaen, Don Muong Temple and Luk Si Temple. All 40 monks from these temples work in Temple’s Information.

          At the First phase, we found that most of the monks has a fair knowledge of basic computer programs such as Microsoft’s Word, Microsoft’s Power Point, Microsoft’s Excel, Microsoft’s Excess, AutoCAD and Photoshop program.  Every temples has their own internet. However, they needs their own Temple’s logo and ways to advertise the temple’s activities.  As far as the booking keeping areas they need record of residency, utilities expensed and detail of participation in occasional merit programs.

          The second phase; after we have implemented the new Religion’s information we found that the fifteen of those monk group has score of the system as follow; Satisfy of the implementation with score of 4.63 Satisfy of how the system work with score of 4.69 Satisfy of how the program works with score of 4.65 and Satisfy of the confidential of the program with the score of 4.75

References

กมล รุ่งสะอาด. (2546). การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูล เพื่อรายงานผลการเรียน และการลงทะเบียน ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยพยายัพผ่านเครื อข่ายอินเตอร์เน็ต. สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศและการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ .

ครรชิต มาลัยวงศ์. (2546). เทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : สารมวลชน,

โสภา อํานวยรัตน์. (2543). การจัดทําระบบฐานข้อมู ลบุ คลากรและนักเรียน นักศึกษาในวิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. บัณฑิตวิทยาลัย;มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สาขาวิชาอาชีวศึกษา.

Best, John W.(1986). Research in Education. Englewood Cliffe, New Jersey: Prentice. Hall Inc.

Downloads

Published

2016-06-28

Issue

Section

บทความวิจัย (Research Article)