แนวทางการพัฒนาสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของใบโหระพา ในจังหวัดนครปฐม An approach to the agricultural product development throughout the supply chain and logistics of Sweet Basil in Nakorn Prathom province
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของใบโหระพาในจังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเสนอแนวทางการแก้ปัญหาและปรับปรุงสินค้าเกษตรตั้งแต่ต้นน้ำกลางน้ำและปลายน้ำของใบโหระพาในจังหวัดนครปฐม การวิจัยนี้ทำการศึกษาเชิงสำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง เกษตรสินค้าตลอดโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของใบโหระพาในจังหวัดนครปฐม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยอาศัยการแจกแบบสอบถาม จำนวน 300 คน และสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) โดยการแจกแบบสอบถามให้กับชุมชนเกษตรโดยขอความร่วมมือจากเกษตรกรผู้ปลูกใบโหระพา ผลการวิจัยพบว่า อันดับแรกด้านระบบการจัดจำหน่ายสินค้าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.916 รองลงมาด้านระบบการจัดจำหน่ายสินค้า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.863 ถัดมาด้านระบบการจัดจำหน่ายสินค้า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.837 ด้านแนวทางในการนำผลการทดลองไปใช้ พบว่าลักษณะทั่วไปของการเกษตรสินค้าเกษตรโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของใบโหระพาควรจะมีการใช้วัตถุดิบหรือส่วนผสมที่มากขึ้น มีการนำพืชผักชนิดอื่นมาใช้ทำในการทดลอง และควรพัฒนาต่อยอดของโครงงานให้สามารถเป็นผลิตภัณฑ์ที่สมบูรณ์ และใบโหระพาเป็นพืชที่ปลูกครั้งเดียวสามารถเก็บเกี่ยวได 1-2 ปี ซึ่งการเลือกพื้นเพาะปลูกที่ควรพิจารณา คือ ดินควรมีความร่วนซุยและมีความอุดมสมบูรณดี มีการระบายน้ำดีอยู่ใกล้แหล่งน้ำและสามารถนำน้ำมารดได้สะดวก รวมถึงควรอยู่ใกล้ที่พักอาศัยและการคมนาคมสะดวก
คำสำคัญ: การพัฒนาการเกษตร, สินค้าตลอดโซ่อุปทาน, โลจิสติกส์
Abstract
The objectives of this research were 1) to study the development of agri-business, agricultural products, supply chain and logistics of basil leaves in Nakhon Pathom Province 2) to propose solutions and improve agricultural products from upstream, midstream and downstream of basil leaves in Nakhon Pathom Province. This research was a survey study (Survey Research). Agricultural products throughout the supply chain and logistics of basil leaves in Nakhon Pathom province. Data were collected by using a questionnaire distribution of 1,250 people. Yamane prefabricated tables at 95% confidence level and 5% error, yielding a total of 300 samples and convenience sampling. The questionnaires distribute to agricultural communities and asked for cooperation from basil growers to help answer the questionnaire. From the research results, it was found that the first. The overall product distribution system is at a high level with an average of 3.916 Followed by the distribution system overall, it is at a high level with an average of 3.863, next is the distribution system overall, it is at a high level with an average of 3.837. Guidelines for applying the results of the experiment It was found that the general characteristics of agriculture, agricultural products, supply chains and logistics of basil should be more used for raw materials or ingredients. Other vegetable crops have been used for experimentation and should be further developed into complete products, and basil is a one-time crop that can be harvested for 1-2 years. Good drainage is located near the water source and can be easily taken to the water, as well as should be close to shelters and convenient transportation.
Keywords: Agricultural Development, Supply Chain Products, Logistics