Outcomes of Implementing Nursing Care Management Plan for Patients Undergoing Vascular Surgery: A Case Study at Songklanagarind Hospital
Keywords:
Outcome, Nursing care management plan, Vascular surgery patientsAbstract
การวิจัยและพัฒนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของการใช้แผนการจัดการพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรมหลอดเลือดในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์โดยอาศัยกรอบแนวคิดการพัฒนาคุณภาพการบริการของโดนาบิเดียน กลุ่มตัวอย่างคือ การวิจัยและพัฒนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของการใช้แผนการจัดการพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรมหลอดเลือดในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์โดยอาศัยกรอบแนวคิดการพัฒนาคุณภาพการบริการของโดนาบิเดียน กลุ่มตัวอย่างคือ
ผู้ป่วยศัลยกรรมหลอดเลือดจำนวน 150 ราย ญาติผู้ดูแลหลักจำนวน 150 รายและพยาบาลผู้ให้บริการจำนวน 20 ราย แบ่งการศึกษาเป็น 2 ระยะคือก่อนการพัฒนาที่ผู้ป่วยได้รับการพยาบาลตามปกติและระยะหลังการพัฒนาที่ผู้ป่วยได้รับการพยาบาล
ตามแผนการจัดการพยาบาลที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามสำหรับผู้ป่วย ญาติผู้ดูแลหลักและพยาบาล ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน และทดสอบหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา
ของครอนบาค เท่ากับ 0.82, 0.80 และ 0.76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา (ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) และทดสอบสมมุติฐานด้วยสถิติอ้างอิงคือ สถิติทีอิสระ และสถิติทีคู่ ผลการศึกษาพบว่า หลังใช้แผนการจัดการพยาบาลผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลหลักมีคะแนนเฉลี่ยการได้รับข้อมูลในการดูแลตนเองจากพยาบาลสูงกว่าก่อนใช้แผนการจัดการพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 11.07, p < .001), (t = 10.06, p
< .001) พยาบาลมีคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติกิจกรรมการให้ข้อมูลการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลหลักสูงกว่าก่อนใช้แผนการจัดการพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 7.42, p < .001) และผู้ป่วยเกิดความเสี่ยงเฉพาะโรคหลอดเลือดลดลง
กว่าก่อนใช้แผนการจัดการพยาบาล ผู้บริหารการพยาบาลควรนำผลการศึกษาครั้งนี้ไปกำหนดเป็นนโยบายและแนวทางในการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อพัฒนาศักยภาพของพยาบาลและคุณภาพการบริการพยาบาลที่เป็นเลิศ
References
รายการอ้างอิง
Atatanuchit, S., Sae-Sia, W., & Songwathana,P. (2010).Development
of Clinical Nursing Practice Guideline for Initial Assessment among
Multiple Injured Patients Admitted in Trauma Units.
Princess of Naradhiwas University Journal, 2(2), 16 - 28.
Chinsakchi, K., Wongwanit,C., Pootracool, P. & Kermthanasawat, N.
(2009). Common problems in vascular surgery.
Volume 1 (2nd ed.). Bangkok: krungthephwechasarn.
Donabedian, A. (2003). An Introduction to Quality Assurance in Health
Care. New York: Oxford University Press.
Hardman, R., Jazaeri, O., Yi. J., Smith, M., & Gupta, R.
(2014).Overview of Classification Systems in
Peripheral Artery Disease. Seminars in Interventional Radiology, 31,
- 388.
Juntawises, U., Sathirapanya, P., Voragul,C., Wattanasit,Y.,
Yeesakul,C., & Sasatranuruk, S. (2009).
The result of the clinical pathway implementation for ischemic
stroke patients in Songklanagarind hospital.Songklanagarind
Medical Journal, 27(2), 117 - 129.
Labriola, L., Crott R., Desmet, C., André, G., Jadoul, M. (2011)
Infectious complications following conversion to buttonhole
cannulation of native arteriovenous fistulas: a quality
improvement report. American Journal of Kidney Diseases, 57(3),
- 448
Maleux,G., Koolen, M., Heye, S. (2009).Complications after
Endovascular Aneurysm Repair.
Seminars in interventional radiology, 26(1), 3 - 9.
Medical record division Songklanagarind hospital, .(2013). Statistics
for vascular surgery patients.Songklanagarind hospital.
Medical record surgeryward, .(2012). 1 out of 5 major diseases in
surgical ward.Songklanagarind hospital.
Nantsupawat, R. (2012). Nursing outcomes to standards and
international competition. Retrieved September 14, 2014, from:http://www.med.cmu.ac.th/hospital/nis/nurse_day/file/2012_10_17/std_outcome.pdf.
Norgren, L., Hiatt, W., Dormandy, J., Nehler, M., Harris, K., Fowkes,
F. (2007). Inter - society consensus for the management of
peripheral arterial disease (TASC II). Journal of Vascular Surgery,
(1), 5 - 67.
Patiwongsphisan, A & Kritayakeron, K. (2009). Peripheral arterial
disease: Peripheral Vascular Intervention.
Journal of the Association of General Surgeons of Thailand under
the Royal Patronage of HM the King, 5(11), 2 - 15.
Personnel section Prince of Songkla University, .(2010). Nursing
placement standards Civil Service Commission in Higher Education
Institutions. Retrieved May 25, 2015,
from: http://.www.personnel.psu.ac.th/per 12 .html.
Phosritong, W., Maneesilp,T., Podhipak, P., & Chonbodeechalermrung,
N. (2012). The development of diabetes care system: a case
management model at Saraburi hospital.Journal of Nursing Division,
(2), 79 - 93.
Plaiyod,J., Panpakdee, O., & Taikerd,C. (2012).Effects of a promoting
self-care participation program on perceived self-care ability, body
weight, and blood pressure control in persons with hypertension.
Ramathibodi Nursing Journal, 18 (2), 223 - 236.
Saelim, R. (2014).Performance report of advanced nursing
practitioner. Songklanagarind hospital.
Saelim,R.,Vongwisanupong,N., & Triprakong, S. (2014).Effectiveness
of a discharge planning programme on self-care knowledge and
bahaviour of peripheral arterial occlusion patients at
Songklanagarind hospital. Thai Journal of Nursing Council, 25 (2),
- 113.
Steenhof, N., Piane, F., Leblanc, K., Eisenberg, N , Kwan, Y.,
Malmberg N, et.al. (2014).Vascular quality of care pilot study: how
admission to a vascular surgery service affects evidence-based
pharmacologic risk factor modification in patients with lower
extremity peripheral arterial disease. Journal of Vascular Health and
Risk Management,10, 333-340.
Srisamai, S., Ua-Kit, N., & Naveecharern, R. (2014).Selected factors
associated with health related quality of life in aortic aneurysm
patients after surgery. Songklanagarind Journal of Nursing, 34 (2),
- 37.
Thai hypertension society,. (2015).Thai Guidelines on the treatment of
hypertension 2012 update 2015.Retrieved September 13, 2017,
from:
http://www.thaihypertension.org/files/GL%20HT%202015.pdf.
Thangrod,R., Kimpee, S., Thosingha, O., & Ruangsetakit, C. (2010).
Factors Predicting Health Status in Patients after Infrainguinal
Bypass. Journal of Nursing Science, 28 (4), 46 - 54..
Trads, M., Deutch,S , & Pedersen, P.(2017). Supporting patients in
reducing postoperative constipation:fundamental nursing care - a
quasi-experimental study. Scandinavain Journal of Caring
Sciences, 31, 1 - 9.
Yoyotthong, M., & Sawasdesun, P. (2014). Determining sample size
for research. Retrieved May 26, 2015,from:
http://www.fsh.mi.th/km/wp-content/uploads/2014/04/resch.pdf.
รายการอ้างอิงภาษาไทย
กองการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2553). มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
พยาบาล คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
ในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) ค้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2558, จาก
http://.www.personnel.psu.ac.th/per 12 .html.
คามิน ชินศักดิ์ชัย,ชุมพล ว่องวานิช, ปิยนุช พูตระกูล, และณัฐวุฒิ เสริมสาธนสวัสดิ์.
(2557).ศัลยศาสตร์หลอดเลือดประยุกต์ เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่1).กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
กรุงเทพเวชสาร.
จารุณี ปลายยอด,อรสา พันธ์ภักดี,และชีวรัตน์ ต่ายเกิด.(2555). ผลของโปรแกรมการส่ง
เสริมการมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองต่อการรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเอง
น้ำหนักตัว และการควบคุมความดันโลหิตของผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง.รามาธิบดี
พยาบาลสาร, 18 (2), 223 - 236.
มารยาท โยยศทอง, และ ปราณี สวัสดิสรรพ์. (2557). การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
เพื่อการวิจัย. ค้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2558,จาก
http://www.fsh.mi.th/km/wp-content/uploads/2014/04/resch.pdf.
รัตนา แตงรอด, สุวิมล กิมปี, อรพรรณ โตสิงห์,และเฉนียน เรืองเศรษฐกิจ.
(2553).ปัจจัยทำนายภาวะสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังการผ่าตัดทำทางเบี่ยงแก้ไข
ภาวะหลอดเลือดแดงต่ำกว่าขาหนีบอุดตัน. วารสารพยาบาลศาสตร์ , 28 (4),
- 54.
รัตนาภรณ์ แซ่ลิ้ม, นงลักษณ์ ว่องวิษณุพงศ์, และสุดจิต ไตรประคอง. (2557).
ประสิทธิผลของโปรแกรมการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย
อุดตันในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์. วารสารสภาการพยาบาล, 25 (2), 101 -
รัตนาภรณ์ แซ่ลิ้ม. (2557).รายงานผลการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติพยาบาลขั้นสูง. โรง
พยาบาลสงขลานครินทร์.
เรมวล นันท์ศุภวัฒน์. (2555). ผลลัพธ์ทางการพยาบาลสู่มาตรฐานและการแข่งขันใน
ระดับสากล. ค้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2557,จาก
http://www.med.cmu.ac.th/hospital/nis/nurse_day/file/2012_10_17/
std_outcome.pdf.
วิไลวรรณ โพธิ์ศรีทอง,ธนันณัฏฐ์ มณีศิลป์,พิศมัย โพธิพรรค, และงามทิพย์ ชนบดีเฉลิมรุ่ง
(2555).การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานด้วยรูปแบบการจัดการรายกรณี โรง
พยาบาลสระบุรี. วารสารกองการพยาบาล, 39(2), 79 - 93.
เวชระเบียนข้อมูลของหอผู้ป่วยศัลยกรรมสามัญ. (2555).สถิติผู้ป่วย 5 อันดับของหน่วย
งาน.โรงพยาบาลสงขลานครินทร์.
ศิริพร ศรีสมัย, นรลักขณ์ เอื้อกิจ, และรุ้งระวี นาวีเจริญ. (2557).ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์
กับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงเอออร์ตาโป่งพองหลัง
ผ่าตัด.วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 34 (2),17 - 37.
สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. (2558). แนวทางการรักษาโรคความดัน
โลหิตสูง ในเวชปฏิบัติทั่วไปพ.ศ. 2555 ฉบับปรับปรุง 2558.ค้นเมื่อวันที่ 13
กันยายน 2560,จาก
http://www.thaihypertension.org/files/GL%20HT%202015.pdf.
สุนิดา อรรถอนุชิต, วิภา แซ่เซี้ย, และประณีต ส่งวัฒนา. (2553).การพัฒนาแนวปฏิบัติ
การพยาบาลในการประเมินสภาพแรกรับของผู้ป่วย ที่ได้รับบาดเจ็บหลายระบบที่เข้ารับ
การรักษาในหอผู้ป่วยอุบัติเหตุ.วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 2(2), 16
- 28.
หน่วยเวชสถิติ. (2556).สถิติผู้ป่วยศัลยกรรมหลอดเลือด. งานเวชระเบียน, โรงพยาบาล
สงขลานครินทร์.
อรรถพร ปฏิวงศ์ไพศาล, และกฤตยา กฤตยากีรณ.(2552). Peripheral arterial
disease: Peripheral Vascular Intervention.
วารสารสมาคมศัลยแพทย์ทั่วไป,5(11), 2 - 15.
อุมา จันทรวิเศษ, พรชัย สถิรปัญญา, ฉมาภรณ์ วรกุล, ยุพิณ วัฒนสิทธิ์, ฉวีวรรณ ยี่
สกุล,และสิรินทร์ ศาสตรานุรักษ์. (2552).ผลลัพธ์ก่อนและหลังการใช้แผนการดูแลผู้
ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบและอุดตันในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์.
สงขลานครินทร์เวชสาร,27(2), 117 - 129.