COMPARISON OF REMOTE SENSING TECHNIQUES FOR LAND USE CLASSIFICATION IN PATTANI BAY, THAILAND

Authors

  • Uten Thongtip Department of Geographical Technology, Faculty of Humanities and Social Sciences Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand

Keywords:

Comparison, Remote Sensing Techniques, Land Use Classification

Abstract

In Thailand the land use has been changing, every day new developments (urban, industrial, commercial and agricultural) are emerging. The purpose of this work is to develop the land use of Pattani Bay a sub-wetland of the Thailand watershed that is an important natural resource to Pattani Province. Remote sensing techniques can be used to assess several water quality parameters and also for land use classifications. For this work the ERDAS Imagine 2014 computer software will be used to develop a land use classification using LANDSAT-8 images. The generated land use classification will be compared with a land use generated using ArcGIS 10.5, to decide which method provides better land use classification. The accuracy of each of the derived classification products was assessed in several ways, after which different product accuracies were compared using statistical means with STATISTICA 13.

After used ERDAS IMAGINE 2014 to perform the classification, significant data has been obtained using a Minimum Distance Supervised Classification method. Correction methods need to be performed for shadows. Land use classification is more detailed using remote sensing tools such as ERDAS IMAGINE 2014 software than the ArcGIS 10.5. Also land use classification using ERDAS IMAGINE 2014, can be performed faster and with more precision, after you have your training samples. Using the obtained results from ERDAS IMAGINE 2014 and ArcGIS 10.5 for land use classification can help to perform a more accurate classification. To perform a better classification of this area using ERDAS IMAGINE 2014, it is recommended to use the Modeler Tool, to correct the errors and be more accurate.

Author Biography

Uten Thongtip, Department of Geographical Technology, Faculty of Humanities and Social Sciences Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, Thailand

อาจารย์ประจำสาขาเทคโนโลยีภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

วุฒิการศึกษา:
Doctor of Philosophy (Sustainable Land Use and Natural Resource Management)(GPA: 4.00)
Doctor of Philosophy (Management)
Master of Science (Geographical Technology)
Bachelor of Science (Geography)


ตำแหน่งปัจจุบัน:
ผู้ช่วยคณบดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
กรรมการประจำหลักสูตรเทคโนโลยีภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
กรรมการวิชาการและจริยธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
กรรมการบริการวิชาการแก่สังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
กรรมการศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
กรรมการวิจัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
กองบรรณาธิการ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
นักบินพลเรือนกิตติมศักดิ์ สถาบันการบินพลเรือน
ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลราไวย์ ตำบลราไวย์ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ:
ภูมิศาสตร์ เทคโนโลยีภูมิศาสตร์ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ภูมิสารสนเทศ (GI)
การสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) โฟโตแกรมเมตรี (Photogrammetry) การใช้ที่ดินและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
การคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน การวิเคราะห์แนวโน้มและทิศทางการขยายตัวของพื้นที่เมือง การวิเคราะห์ศักยภาพเชิงพื้นที่ การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติ และการจัดการ

ผลงานงานวิจัย
1. Estimation of Oil Palm Production Using Vegetation Index : A Case Study of Lam Thap District, Krabi Province
2. Application of Vegetation Index for Exploring Land Use : A Case Study Khuan Sai Village, Lam Thap Subdistrict, Lam Thap District, Krabi Province
3. Application of Vegetation Index for Exploring Land Use and Its Relationship with Household Livelihood in Khuan Sai Village, Lam Thap Subdistrict, Lam Thap District, Krabi Province
4. การสร้างดัชนีเพื่อพัฒนาฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ในการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินจากข้อมูลดาวเทียม SMMS ในพื้นที่ภาคตะวันตกของประเทศไทย
5. การพัฒนาฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศจากข้อมูลดาวเทียม และการจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ภาคตะวันออกของประเทศไทย กรณีศึกษาดาวเทียม SMMS
6. การวิเคราะห์และคาดการณ์คุณภาพอากาศโดยใช้ภูมิสารสนเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
7. ประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศเพื่อการวิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมด้านการเกษตรในอำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่
8. ประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศเพื่อประเมินหาพื้นที่เหมาะสมในการตั้งโรงงานอุตสาหกรรมในอำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่
9. การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ก่อนโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่และทิศทางสู่อนาคตของจังหวัดกระบี่
10. การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ก่อนโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่และทิศทางสู่อนาคตของจังหวัดสตูล
11. การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ก่อนโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่และทิศทางสู่อนาคตของจังหวัดนครนายก
12. ระบบภูมิสารสนเทศการเคหะแห่งชาติบนอุปกรณ์สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต
13. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่อยู่อาศัยและบริการเผยแพร่ข้อมูลผู้มีรายได้น้อย
14. โครงการพัฒนาปรับปรุงฐานข้อมูลที่อยู่อาศัยภาคเอกชน
15. วิเคราะห์ข้อมูลภูมิสารสนเทศทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
16. ภูมิความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง
จังหวัดสมุทรปราการ
17. ภูมิความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง
จังหวัดสมุทรปราการ
18. การพัฒนาต้นแบบฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของชุมชนแบบบูรณาการอย่างมีส่วนร่วม: กรณีศึกษาชุมชนสุขสันต์พัฒนา
19. การสร้างเครือข่ายการฟื้นฟูสุขภาวะชุมชนและสร้างความรู้การอยู่กับอุทกภัยในอนาคต
20. การจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากร
เชื้อเพลิงธรรมชาติ
21. การวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์เชิงพื้นที่ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
22. การจัดทำข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของสถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ
23. การจัดทำโปรแกรมประยุกต์ต้นแบบเว็บบราวเซอร์สำหรับแผนที่ข้อมูลเหมืองอินโดมินโกณ ประเทศอินโดนีเซีย
24. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลพื้นที่คุ้มครองทางทะเล
25. การสำรวจจัดทำและปรับปรุงฐานข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินการกำหนดแนวเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมในบริเวณพื้นที่จังหวัดระยองและจังหวัดชลบุรี (บางส่วน)
26. การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่องานด้านการตลาดของบริษัท CP-MEIJI จำกัด
27. การจัดทำข้อมูล และแผนที่การท่องเที่ยวในพื้นที่บางกระเจ้า (กระเพาะหมู) อำเภอพระประแดง
จังหวัดสมุทรปราการ
28. การเสริมสร้างขีดความสามารถธุรกิจชุมชนแบบบูรณาการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
29. ฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลทรงคนอง บางยอ บางกะเจ้า บางกอบัว บางน้ำผึ้ง และบางกระสอบ (กระเพาะหมู)อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
30. ประยุกต์การรับรู้จากระยะไกลเพื่อศึกษาพลวัตรชายฝั่งทะเลบริเวณพื้นที่อ่าวปัตตานี
31. ประยุกต์ระบบผู้เชี่ยวชาญในการจำแนกประเภทการใช้ที่ดินพื้นที่จังหวัดปัตตานีด้วยข้อมูลดาวเทียม SMMS
32. ประยุกต์ระบบผู้เชี่ยวชาญในการจำแนกประเภทการใช้ที่ดินพื้นที่จังหวัดนราธิวาสด้วยข้อมูลดาวเทียม SMMS
33. ประยุกต์ระบบผู้เชี่ยวชาญในการจำแนกประเภทการใช้ที่ดินพื้นที่จังหวัดยะลาด้วยข้อมูลดาวเทียม SMMS
34. การวิเคราะห์ข้อมูลดาวเทียม SMMS ด้วยคอมพิวเตอร์ กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดกระบี่

ผลงานงานวิชาการ:
1. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับการศึกษาท้องถิ่น
2. การรับรู้จากระยะไกลเบื้องต้น
3. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการสำรวจข้อมูลระยะไกล 1
4. ปฏิบัติการสำรวจข้อมูลระยะไกล
5. คู่มือโปรแกรม Map Window GIS
6. คู่มือโปรแกรม MapInfo Professional
7. คู่มือโปรแกรม IDRISI Selva
8. คู่มือโปรแกรม PCI Geomatics
9. คู่มือโปรแกรม ENVI
10. ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลก
11. ภูมิสารสนเทศทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
12. ข้อมูลภูมิสารสนเทศทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
13. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับการศึกษาท้องถิ่น
14. สื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน ชุดวิดีโอการใช้โปแกรม MapWindow GIS
15. คู่มือฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการจัดทำฐานข้อมูลและวิเคราะห์เพื่อการวางผังอนุภาค กลุ่มจังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ
16. คู่มือฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการจัดทำ
ฐานข้อมูลและวิเคราะห์เพื่อการวางผังอนุภาค
17. คู่มือฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการฐานข้อมูลสารสนเทศทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
18. คู่มือฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยโปรแกรม
ArcGIS ขั้นสูง
19. คู่มือฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยโปรแกรม ArcGIS
20. คู่มือฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยโปรแกรม
MapInfo Professional
21. คู่มือฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยโปรแกรม
MapInfo Professional ขั้นสูง
22. คู่มือแนวทางการลดผลกระทบ (mitigation) และการปรับตัว (adaptation) ของชุมชนในการเผชิญอุทกภัยในอนาคต
23. การใช้แผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นแนวทางการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. 2558-2560
24. เอกสารประกอบการอบรมการใช้แผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นแนวทาง
การจัดทำงบประมาณ พ.ศ. 2558-2560
25. รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการเตรียมความพร้อมศักยภาพผู้นำท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน
26. รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการเตรียมความพร้อมท้องถิ่นไทยใน AEC สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ณ เมืองเว้-ดานัง

References

Anderson, J.R., Hardy, E.E., Roach, J.T. & Witmer, R.E. (1976). A Land Use and Land Cover Classification for Use with Remote Sensor Data. Washington D.C.: U.S. Geological Survey.

Erftemeijer, P.L.A. & Bualuang, A. (2015). Participation of Local Communities in Mangrove Forest Rehabilitation in Pattani Bay, Thailand: Retrieved March 16, 2016, from https://www.globalrestorationnetwork.org/.

ESRI. (2016). Introduction to ArcGIS. CA: ESRI.

Grigg, D. (1965). The Logic of Regional Systems: Annals Assoc. Amer. Geographers. 55(3), 465-991.

Intergraph Corporation. (2013). ERDAS Field Guide. Huntsville, AL: Intergraph Corporation.

Jensen, J.R. (1996). Introductory Digital Image Processing. New Jersey: Prentice Hall, Inc.

Lillesand, T.M. & Kiefer, R.W. (2000). Remote Sensing and Image Interpretation. New York: John Wiley & Sons.

Lea, C. & Curtis, A.C., (2010). Thematic Accuracy Assessment Procedures: National Park Service Vegetation Inventory, Version 2.0. Natural Resource Report NPS/2010/NRR-2010/204. Colorado: National Park Service, Fort Collins.

Lu, D., Mausel, P., Brondízio, E. & Moran, E. (2004). Change Detection Techniques. International Journal of Remote Sensing. 25, 2365-2407

Mallinis G., Emmanoloudis, D., Giannakopoulos, V., Maris, F. & Koutsias, N. (2011). Mapping and Interpreting Historical Land Cover/Land Use Changes in a Natura 2000 Site Using Earth Observational Data: The Case of Nestos Delta,
Greece. Applied Geography. 31, 312-320.

NASA. (2017). LANDSAT-8 Instruments. Washington D.C.: U.S. NASA.

Ozesmi, S.L. & Bauer, M.E. (2002). Satellite Remote Sensing of Wetlands. Wetlands Ecology and Management. 10, 381-402.

Pavel, U. (2017). Supervised Image Classifi cation Using Minimum Distance Algorithm. Ukraine: 50Northspatial.

Pirut, J. (2015). Study on Community-Based Fishery Management: Case Study at Pattani Bay, Changwat Pattani. University Library, Kasetsart University, Thailand.

Ruangchuay, R., Lueangthuwapranit, C. & Pianthumdee, N. (2007). Apparent Characteristics and Taxonomic Study of Macroalgae in Pattani Bay.

Songklanakarin Journal of Science and Technology. 29(4), 893-905.

U.S. Geological Survey. (2017). LANDSA- 8 (L-8) Data Users Handbook. Washington D.C.: U.S. Geological Survey.

Zomeni M.J.T. & Pantis, J.D. (2008). Historical Analysis of Landscape Change Using Remote Sensing Techniques: An Explanatory Tool for Agricultural Transformation in Greek Rural Areas. Landscape and Urban Planning. 86, 38-46.

Downloads

Published

2019-03-21

Issue

Section

บทความวิจัย (Research Article)