การเตรียมความพร้อมของญาติเพื่อส่งเสริมการตายอย่างสมศักดิ์ศรีในผู้ป่วยระยะสุดท้าย Preparation of care givers to promote death, dignity, in patients with end-stage
Keywords:
Preparation of care givers, dignity death, patients with end-stageAbstract
การเตรียมความพร้อมของญาติเพื่อส่งเสริมการตายอย่างสมศักดิ์ศรีในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
Preparation of care givers to promote death, dignity, in patients with end-stage
บทคัดย่อ
การเตรียมความพร้อมของญาติเพื่อส่งเสริมการตายอย่างสมศักดิ์ศรีในผู้ป่วยระยะสุดท้าย เป็นบทบาทสำคัญของบุคลากรสุขภาพที่จะช่วยให้ญาติสามารถดูแล ให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต ในส่วนของผู้ป่วยจะช่วยลดความเจ็บปวด ความวิตกกังวลเพื่อให้จากไปอย่าสงบ โดยบุคลากรสุขภาพจะต้องทราบข้อมูลในเรื่อง บทบาทของผู้ใกล้ชิดในครอบครัว การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสมาชิกในครอบครัว ปัจจัยที่มีผลต่อปฏิกิริยาด้านอารมณ์และความต้องการ ปัญหาและความต้องการ ตลอดจนวิธีการตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของญาติผู้ป่วย เพื่อเป็นการส่งเสริมการทำหน้าที่ของญาติและยังเป็นการส่งเสริมการตายอย่างสมศักดิ์ศรีในผู้ป่วยระยะสุดท้ายอีกด้วย
คำสำคัญ: การเตรียมความพร้อมของญาติ การตายอย่างสมศักดิ์ศรี ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
Abstract
The preparation of care givers to promote the dignity in patients with end-stage is the key role of health professional, to help the care givers can take care to assist patients in end-of-life. In the majority of patients will reduce the pain. Anxiety, to calm by health professional need to know the information in the story. The role of the family changes made to family members. Factors that affect the emotional reactions needs and problems of care givers , as well as to respond to the problems and needs in order to promote the functioning of the relatives and also to promote death, dignity in patients with end-stage.
Keywords: Preparation of care givers, dignity death, patients with end-stage
References
กิตติกร นิลมานัต. (2555). การดูแลระยะสุดท้ายของชีวิต. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.
เติมศักดิ์ พึ่งรัศมี. (2556). การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้าย. ใน ประเสริฐ เลิศสงวนสินชัย, อิศรางค์ นุชประยูร,
พรเลส ฉัตรแก้ว และ ฉันชาย สิทธิพันธุ์ (บก), การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้าย. กรุงเทพฯ: อักษร
สัมพันธ์ จำกัด.
ทัศนีย์ ทองประทีป. (2552). พยาบาลเพื่อนร่วมทุกข์ผู้ป่วยระยะสุดท้าย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัท
วี.พริ้นท์ จำกัด.
เพ็ญศิริ มรกต, กิตติกร นิลมานัต และเยาวรัตน์ มัชฌิม. (2556). การปรับตัวของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง. เอกสารนำเสนอในที่ประชุมหาดใหญ่วิชาการ ครั้งที่ 4 ประจำปี
, สงขลา. ค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม2559, จาก www.hu.ac.th/conference2013
/Proceedings2013/ pdf/ Book1 /.../ 718_90-97.pdf
แพรววรินทร์ นุตาวงศ์. (2555). หัวใจเล็กๆกับปาฏิหาริย์ที่ยิ่งใหญ่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัท บันลือ
พับลิเคชั่นส์ จำกัด.
รุ่งนภา เขียวชอ่ำ, ศรีสุดา งามขำ, คงขวัญ จันทรเมธากุล, รัชสุรีย์ จันทเพชร และสาคร พร้อมเพราะ. (2556).
ความต้องการข้อมูลของญาติผู้ป่วยที่หอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลพระปกเกล้า. วารสารศูนย์
การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า. 1(ม.ค.-มี.ค.): 24-34.
วรรณภรณ์ พัฒพิบูลย์, จีรพันธ์ ประทุมอ่อน, และจุธาลักษณ์ แก้วมะไฟ. (2555). การพัฒนารูปแบบการดูแล
แบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยสูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังในระยะสุดท้าย หอผู้ป่วยอายุรกรรม 2
โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. Journal of Nurses’ association of thailand, north-eastern
division. 3(ก.ค.-ก.ย. 2555): 68-76.
สุภาพร ดาวดี. (2553). การอภิบาลดูแลครอบครัวผู้ป่วยระยะสุดท้าย. ใน อาเดลา พิศุทธิ์สินธพ (บก), การ
ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายตามุมมองศาสนาคริสต์คาทอลิก. กรุงเทพฯ: แม่พระยุคใหม่.
Emma K., Alex B., Phillip G., Julia W. & Jon A. (2014). Families and the transition to specialist
palliative care. Journal of Mortality, 19(4), 323–341.
Downloads
Published
Issue
Section
License
โปรดกรอกเอกสารและลงนาม "หนังสือรับรองให้ตีพิมพ์บทความในวารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" ก่อนการตีพิมพ์