STUDY THE MOTION OF MAGNET BY HALLBACH ARRAY

ผู้แต่ง

  • ธีรถวัลย์ ปานกลาง สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร 10600
  • ธัญนพ นิลกำจร ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร 10110
  • พันธ์ศักดิ์ ดีรักษา ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร 10110
  • ภคินี ทองฤทธิ์ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร 10110
  • ศิริสกุล สันตะวงศ์ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร 10110
  • รัตนสุดา สุภดนัยสร สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร 10600
  • ชลิต วณิชยานันต์ สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร 10600
  • สายัณ พุทธลา สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร 10600
  • พงษ์แก้ว อุดมสมุทรหิรัญ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร 10110

คำสำคัญ:

ฮอลแบ็ค, แม่เหล็กถำวร, แม็กเลฟ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา และสร้างชุดทดลองการเคลื่อนที่ของแท่งแม่เหล็ก โดยการจัดเรียงแม่เหล็กแบบฮอลแบ็ค (Halbach array) คณะผู้วิจัยได้ศึกษาหลักการและวิธีการจัดเรียงแม่เหล็กแบบฮอลแบ็คโดยใช้เครื่อง เทสลามิเตอร์วัดขั้วแม่เหล็ก และได้สร้างชุดแม่เหล็กที่จัดเรียงแม่เหล็กแบบฮอลแบ็คโดยทำให้ค่าความเข้มของสนามแม่เหล็กด้านหนึ่งมีมากที่สุด ขณะที่อีกด้านมีความเข้มสนามแม่เหล็กน้อยมาก ต่อมาได้จัดวางชุด แม่เหล็กแบบฮอลแบ็ค จำนวน 2 คู่ ในมุมและระยะห่างที่ทำให้แท่งแม่เหล็กสามารถเคลื่อนที่ได้ในราง จากการศึกษา พบว่า แท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่ในอัตราเร็วที่ดีที่สุด มีความเร็วเฉลี่ยเท่ากับ 2.20 เมตรต่อวินาที โดยแท่งแม่เหล็กคู่แรกวางทำมุมกับราง 5 องศา คู่ที่ 2 ทำมุมกับราง 10 องศา

Author Biography

ธีรถวัลย์ ปานกลาง, สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร 10600

Physics

References

Piyapong, S. (2548). University physics with modern physics. Bangkok. Pearson Education Indochina Ltd.

Peerapat, C.(2015). Maglev. Retrieved February 28, 2017, from https://www.nextwider.com/ 2015/04/22/japan-maglev-train.

Kraison, U. (2012). Electromagnetic compatibility : EMC. Technology Promotion Association (Thailand-Japan). 38(220), 40-44.

Klaus, H. (1980). Design of permanent multipole magnets with oriented rare earth cobalt material. Nuclear Instruments and Methods. 169 (1), 1–10.

Klaus, H. (1985). Application of permanent magnets in accelerators and electron storage rings. Journal of Applied Physics. 57, 3605.

Mallinson, J.C. (973). One-sided fluxes — A magnetic curiosity?, IEEE Transactions on Magnetics. 9, 678-682.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-10-24

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Article)