การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพสำหรับนักศึกษา ภายใต้การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

Main Article Content

พลากร นัคราบัณฑิต
จีรนันท์ แก้วมา

บทคัดย่อ

สมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ มีส่วนสำคัญที่ส่งเสริมความสามารถของร่างกายในการทำงานและใช้ชีวิตประจำวัน เมื่อร่างกายมีการเคลื่อนไหวหรือออกกำลังกายอย่างถูกต้อง จะเป็นการสร้างเสริมให้สมรรถภาพทางกายดีเพิ่มมากขึ้น กลุ่มนักศึกษาเป็นช่วงวัยที่มีการเจริญเติบโตเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ จึงควรมีสมรรถภาพทางกายที่ดี ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทำให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ช่วยลดการใช้แรง และลดการมีกิจกรรมทางกาย นอกจากนี้ภายใต้การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 นักศึกษาได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์อยู่ในที่พัก ทำให้ลดกิจกรรมทางกายในการเดินทางไปสถานศึกษา จึงอาจส่งผลต่อการถดถอยของสมรรถภาพทางกาย การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพสำหรับนักศึกษา ภายใต้การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ควรปฏิบัติตามหลัก ลด เลี่ยง ดูแล ของกระทรวงสาธารณสุข ปฏิบัติดังกล่าว จะเป็นการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพสำหรับนักศึกษา ภายใต้การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

อรจิรา มะลิทอง. สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการสถาบันการพลศึกษา, 2561; 10(3): 271-284.

จิรภัทร เริ่มศรี. พฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊ค (FACEBOOK) ที่มีผลกระทบต่อนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร; 2558.

ภาณุวัฒน์ กองราช. การศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในประเทศไทย กรณีศึกษา Facebook

[วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2554.

กฤตนัย แซ่อึ้ง, นรินทร์ รมณ์ชิต, พงศ์ศักดิ์ แก้วประทีป, วิทวัส กองจันทร์, วีรวุฒิ นาคนวล และสหรัฐ บัตรพิมาย. การศึกษาพฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (รายงานผลการวิจัย). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา; 2560.

ชลลดา บุญโท. พฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีและผลกระทบจากเกมออนไลน์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี: ปทุมธานี; 2554.

สุภาวดี เจริญวานิช. พฤติกรรมการติดเกม: ผลกระทบและการป้องกัน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2557; 22(6 ฉบับพิเศษ: 871-879.

กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุข เพื่อการจัดการภาวะระบาดของโรคโควิด-19 ในข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2558 (ฉบับที่ 1). [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [สืบค้นเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2563] จาก: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/g_other/g_other02.pdf.

American College of Sports Medicine. ACSM fitness book. 2nd ed. Champaign, IL: Human Kinetics; 1998.

Hastad, DN. and Lacy, AC. Measurement and evaluation in physical education and exercise science. 3rd ed. Boston: Allyn and Bacon; 1998.

Shephard, RJ. and Lavallee, H. Physical fitness assessment: principles, practice, and application. Springfield, Ill.: Thomas; 1978.

Dwyer, GB. and Davis, SE. ACSM's health-related physical fitness assessment manual. 2nd ed. Philadelphia: Wolters Kluwer/Lippincott Williams & Wilkins; 2008.

นภดล นิ่มสุวรรณ. สมรรถภาพทางกายและพฤติกรรมการออกกำลังกายของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาว่ายน้ำ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2563; 31(1): 110-122.

ฝ่ายวิทยาศาสตร์การกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทย. เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย. กรุงเทพมหานคร: การกีฬาแห่งประเทศไทย; 2543.

กรมอนามัย. การทดสอบสมรรถภาพทางกายและการออกกำลังกายสำหรับประชาชนและชมรมสร้างสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2551.

สำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา. แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19-59 ปี. กรุงเทพมหานคร: สำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา; 2562.

ชารี จันสุพรม, ณรงค์ จอมโคกกรวด และพรทิพย์ ฉัตรชูเกียรติกุล. สมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา. วารสารวิจัยรำไพพรรณี, 2562; 13(2): 50-55.

นำโชค บัวดวง, น้อม สังข์ทอง และกิตติธัช คงชะวัน. สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของนิสิตระดับปริญญาตรีขั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 2556; 8(23): 75-90.

จีรนันท์ แก้วมา และพลากร นัคราบัณฑิต. (2563). สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตพลศึกษา: กรณีศึกษาสาขาพลศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. เอกสารนำเสนอในการประชุม: การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ครั้งที่ 5 “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อสังคม”; 6-7 กุมภาพันธ์ 2563; มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดนครศรีธรรมราช. 248-258.

เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์ และปัณณวิชญ์ ปิยะอร่ามวงศ์. การจัดการเรียนรู้สุขศึกษาในโรงเรียนภายใต้การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19): แนวคิดและแนวปฏิบัติ. วารสารสถาบันบำราศนราดูร, 2563; 14(3): 192-202.

World Health Organization. Naming the coronavirus disease (COVID-19) and the virus that causes it. [Internet]. 2020. [cited 27 May 2020]. Availability from: https://www.who.int/emergencies/diseases/novel- coronavirus-2019/technicalguidance/naming-the-coronavirus-disease-(covid-2019)-and-the-virus-that-causes-it.

Worldometer. COVID-19 coronavirus pandenmic. [Internet]. 2021. [cited 16 Jan 2021]. Availability from: https://www.worldometers. info/coronavirus/.