พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของชาวเขาเผ่าม้ง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน

Authors

  • ปาริฉัตร น้อยธนะ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จังหวัดน่าน 55000
  • สวาท สายปาระ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จังหวัดน่าน 55000
  • กมลวรรณ คุ้มพุฒ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จังหวัดน่าน 55000

Keywords:

พฤกษศาสตร์พื้นบ้าน, ชาวเขาเผ่าม้ง, Ethnobotany, the Hmong

Abstract

การศึกษาพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของชาวเขาเผ่าม้ง ดำเนินการ ณ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2556  การสำรวจสุ่มตัวอย่างพืช รวมทั้งการสอบถามการใช้ประโยชน์ของพืชจากผู้อาวุโสของหมู่บ้าน   บ่งบอกถึงพืช 36 ชนิด จาก 23 สกุล 26 วงศ์  และไม่ทราบชนิด 12 สกุล จำแนกพืชเป็น 5 ประเภทคือ พืชอาหาร พืชสมุนไพร พืชสร้างที่อยู่อาศัย พืชใช้ในพิธีกรรม และพืชใช้ประโยชน์อื่น สตรอเบอร์รี่ (Fragaria ananassa) พริกหวาน (Capsicum annuum L. var. longum) เป็นพืชผลส่งเสริมโดยโครงการหลวงเพื่อสร้างอาชีพและรายได้

 

Ethnobotany of the Hmong at Nanoi District, Nan Province

Parichat Noitana1, Sawat Saipara1*, and Kamoonwan Khoomput1

1 Department of Science Faculty of Science and Agricultural Technology,  Rajamangala University of Technology Lanna Nan, Nan Province 55000

The study on Ethnobotany of Hmong hilltribe was conducted at Nanoi District, Nan Province during June 2012 to January 2013. The survey sampled plants including inquiries for the use of plants from village olders indicated 36 species from 23 genera of 26 families including unknown 12 species. Plants are classified into 5 groups: edible plants; medicinal plants; for housing plants; ritual plants; and plants of other uses. Strawberry, Fragaria ananassa and Banana pepper, Capsicum annuum L. var. longum as each crops that have been encouraged by the Royal Project to create job and revenue.

Downloads

Published

2013-11-30

How to Cite

1.
น้อยธนะ ป, สายปาระ ส, คุ้มพุฒ ก. พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของชาวเขาเผ่าม้ง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน. Health Sci Tech Rev [Internet]. 2013 Nov. 30 [cited 2024 Apr. 19];6(3):213-9. Available from: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/journalup/article/view/42834

Issue

Section

Research articles