การเจริญเติบโตในปีที่สองและผลของปุ๋ยทางใบต่อของมะกอกโอลีฟพันธุ์ Arbequina ในพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชของมหาวิทยาลัยพะเยา

Authors

  • บุญร่วม คิดค้า คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา จงั หวดั พะเยา 56000

Keywords:

มะกอกโอลีฟพันธุ์, การเจริญเติบโตทางลำต้นและใบ, กรดอินทรีย์ฮิวมิก, ปุ๋ยทางใบ, Olea europaea, vegetative growth, humic acid, foliar fertilizer

Abstract

การทำวิจัยนี้ทำในเดือนมิถุนายน 2553 - เดือนมิถุนายน 2554 ณ มหาวิทยาลัยพะเยา การทดลองที่ 1 ติดตามการเจริญเติบโตทางลำต้นและใบของมะกอกโอลีฟพันธุ์ Arbequina/RSPG จำนวน 120 ต้น พบว่า มีความสูงเฉลี่ย 159.7 เซนติเมตร (58.8 เซนติเมตร/ปี) มีจำนวนกิ่งเฉลี่ย 8.1 กิ่ง/ต้น และมีเส้นผ่าศูนย์กลางลำต้นเฉลี่ย 32.39 เซนติเมตร (13.4 มิลลิเมตร/ปี) การทดลองที่ 2 ผลของปุ๋ยทางใบต่อการเจริญเติบโต วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ 4 กรรมวิธีๆ ละ 3 ซ้ำ พบว่า ทุกกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างทางสถิติของความสูง และเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น แต่การฉีดพ่นด้วยกรดอินทรีย์ฮิวมิกทำให้มะกอกโอลีฟมีจำนวนกิ่งเฉลี่ยสูงที่สุด (10.2 กิ่ง/ต้น) และมีธาตุฟอสฟอรัสกับโพแทสเซียมในใบสูงที่สุด (P=0.19% และ K= 2.62%) ขณะที่การพ่นด้วยปุ๋ยยูเรียทำให้มะกอกมีปริมาณไนโตรเจนในใบสูงที่สุด (2.01%)  

 

Growth in the second year and effects of foliar fertilizers on olive trees at the University of Phayao plant genetic conservation area

Bunruam  Khitka1

1 School of Agriculture and Natural Resources,  University of Phayao,  Phayao Province 56000

This research work was carried out during June 2009-June 2011 at University of Phayao. The first experiment, 120 plants of Olea europaea var. Arbequina/RSPG were monitored in vegetative growth. The result showed that young olive trees have average plant height as 159.7 cm (58.8 cm/year), number of branch/plant as 8.1 and stem diameter as 32.39 mm (13.4 mm/year). The second experiment was conducted using a CRD with 4 treatments of foliar fertilizer on 3 replications. The results showed that all treatments have not significant differences in plant height and stem diameter of olive plants. But, the highest number of branch (10.2 branch/plant) and leaf minerals content (P=0.19% and K=2.62%) were improved by humic acid spraying treatment. While the highest nitrogen (2.01%) was improve by urea fertilizer spraying treatment.

Downloads

Published

2013-07-30

How to Cite

1.
คิดค้า บ. การเจริญเติบโตในปีที่สองและผลของปุ๋ยทางใบต่อของมะกอกโอลีฟพันธุ์ Arbequina ในพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชของมหาวิทยาลัยพะเยา. Health Sci Tech Rev [Internet]. 2013 Jul. 30 [cited 2024 Apr. 19];6(2):106-10. Available from: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/journalup/article/view/42846

Issue

Section

Research articles